Page 34 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 34

การถอดรื้ออุตสาหกรรมสู่ยานยนต์ไฟฟ้า จาก Automobile สู่ truck และ airplane


          ตรวจจับก็จะประเมินและส่งสัญญาณให้กล่องควบคุมการท�างาน    โดยสรุปแล้ว กับการเดินทางของเทคโนโลยีอีวีที่ได้เล่ามา
          ของเครื่องยนต์ท�างานโดยลดสมรรถนะและ มีผลลดมลพิษจาก  กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ ไม่เพียงต้องการการพัฒนาเทคโนโลยีส�าคัญ
          ไอเสียลงมาให้อยู่ในเกณฑ์ แต่เมื่อรถอยู่บนการใช้งานจริงบนถนน   คือแบตเตอรี่ลิเทียมเท่านั้น แต่ยังต้องทั้งได้ผู้เล่นจากภายนอก
          เครื่องยนต์จะท�างานที่สมรรถนะเต็มที่และมีการปล่อยมลพิษ  อุตสาหกรรม ทั้งเกิดกรณีที่ไปถอดรื้อถึงภายในอุตสาหกรรม และ
          ที่สกปรกมากกว่าค่าตามเกณฑ์ไปได้มาก จากเหตุการณ์นี้ น�ามาสู่  ทั้งต้องได้การไปบรรจบระหว่างระบบยานพาหนะกับระบบพลังงาน
          การฟ้องร้องที่ผู้ผลิตต้องชดใช้ค่าเสียหายทั้งทางตรงในลักษณะ  สมัยใหม่ ซึ่งไม่ง่าย เกือบ 200 ปีได้ผ่านมาส�าหรับเทคโนโลยีอีวี
          ของการถูกปรับเป็นหลักหลายพันล้านยูโร และทางอ้อมในลักษณะ  แต่จุดถอดรื้อของอุตสาหกรรมยานยนต์ก็น่าจะได้เกิดขึ้นแล้ว
          ของการถูกบังคับให้พัฒนายานยนต์สะอาดในรูปแบบยานยนต์ไฟฟ้า   และจากจุดนี้ไป ถ้าจะเป็นจุดถอดรื้อที่แท้จริง การพัฒนา
          ซึ่งผลลัพธ์ส�าคัญจากกรณี dieselgate นี้ ก็คือผู้ผลิตยานยนต์  อีวีก็คงไม่หยุดที่รถเก๋ง แต่จะไปต่อถึงเซกเมนต์อื่น ๆ ของ
          ไม่สามารถซ่อนอยู่หลังเทคโนโลยีดีเซลสะอาดได้อีกต่อไป กรณีนี้   ยานยนต์ได้อย่างกว้างขวาง เซกเมนต์หลัก ๆ ของการเปิดตลาด
          เมื่อผนวกกับวิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ในช่วงปี   ถัดไปก็ไม่ใช่ใดอื่น ก็คือเซกเมนต์รถบรรทุก
          ค.ศ. 2008 ก็เป็นเหตุผลส�าคัญที่บริษัทผู้ผลิตยักษ์ใหญ่ต่าง ๆ
          ของสหรัฐฯ ถูกบังคับให้ปรับแผนระยะยาวสู่ยานยนต์สะอาด โดยมี

          อีวีเป็นเพียงตัวเลือกเดียวในแผนการพัฒนานั้น             รถบรรทุกไฟฟ้า เป็นไปได้ในวันนี้
            กับข้อได้เปรียบของเทคโนโลยีอีวีที่มาพร้อมดีเอ็นเอแบบดิจิทัล      ด้วยแง่มุมทางวิศวกรรม

          และการปลดล๊อคของอุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อพร้อมพัฒนา
          เทคโนโลยีอีวี การเติบโตของอีวีที่พร้อมก้าวกระโดดยังขึ้นกับ    กับการเปลี่ยนผ่านสู่อีวีที่ได้กล่าวถึงข้างบน อาจดูว่าคือ
          การท�างานร่วมกันกับระบบพลังงานสะอาดอีกด้วย ดูเผิน ๆ แล้ว   การบรรจบของหลาย ๆ อย่าง ทั้งโมเดลธุรกิจ และการตอบ
          อีวีดูไม่น่าจะเกี่ยวอะไรกับแผงโซลาร์เซลล์หรือกังหันลม  แต่  รับของอุตสาหกรรม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการพัฒนา
          ระบบพลังงานสมัยใหม่ได้เปลี่ยนจากเดิมไปมากแล้ว จากระบบ  ทางวิศวกรรมจะไม่ส�าคัญ อย่างกรณีของรถบรรทุกไฟฟ้า
          ผลิตไฟฟ้าที่แต่เดิมพึ่งพาแต่เชื้อเพลิงฟอสซิล ระบบพลังงาน  ไม่ว่าจะเป็นรถกระบะหรือรถบรรทุกสินค้า ถึงแม้ความสนใจ
          ในปัจจุบันที่มีสัดส่วนพลังงานทดแทนเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก   ของผู้บริโภคและการเปิดรับการเปลี่ยนแปลงของผู้ผลิตจะ
          ส่วนหนึ่ง ไม่ใช่แค่เพราะแผงโซลาร์หรือกังหันลมมีราคาถูกลง   มาเต็ม แต่ก็อยู่ที่แง่มุมทางวิศวกรรมที่จะได้แจกแจงต่อไป
          แต่เพราะระบบพลังงานมีความเป็นดิจิทัลมากขึ้น การผลิตพลังงาน  ที่เป็นปัจจัยท�าให้รถบรรทุกไฟฟ้าเป็นไปได้จริงในวันนี้!
          แทนที่จะกระจุกตัวอยู่กับโรงไฟฟ้าขนาดหลายร้อยเมกะวัตต์
          ก็กระจายตัวเป็นไปได้อย่างกว้างขวางในโรงไฟฟ้ารายย่อยขนาด
          เป็นกิโลวัตต์ การควบคุมโรงไฟฟ้าที่แต่เดิมคือเพื่อตอบพีคโหลด
          ให้ทันการณ์ ก็เขยิบสู่การท�านายความต้องการและผนวกรวมการ
          จ่ายจากหน่วยการผลิตย่อยผ่านระบบกริดอัจฉริยะ จึงกล่าวได้ว่า
          ดีเอ็นเอของดิจิทัลได้แพร่ซึมไปในระบบพลังงานสมัยใหม่ได้สักพักแล้ว
            และในการเติบโตของอีวีในวันนี้ ดีเอ็นเอของดิจิทัลในระบบ

          พลังงานสมัยใหม่ก็มาบรรจบกับอีวีได้อย่างลงตัว อีวีต้องการไฟฟ้า
          และไฟฟ้าที่ยิ่งสะอาดมากขึ้นเท่าไรจากระบบพลังงานสมัยใหม่
          ประโยชน์ที่ได้จากอีวีก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น ระบบพลังงานสะอาด
          ก็ต้องการแบตเตอรี่เป็นส่วนประกอบส�าคัญ  ซึ่งยิ่งการพัฒนา
          อุตสาหกรรมอีวีมีผลต่อการพัฒนาการผลิตแบตเตอรี่ในสเกลกิกะวัตต์
          การเติบโตของระบบพลังงานสะอาดก็ยิ่งเป็นไปได้รวดเร็วขึ้น
          ไม่เพียงเท่านั้น ในอีกไม่นาน ที่แบตเตอรี่ในอีวีจะเริ่มเสื่อมสภาพลง
          ระบบพลังงานสะอาดยังจะเป็นผู้รับช่วงใช้แบตเตอรี่เหล่านั้นต่อไป
          ได้อีกเป็นสิบปี ซึ่งเมื่อคิดรวบยอดวัฏจักรชีวิตของแบตเตอรี่ให้ใช้งาน
          ได้ยาวนานเช่นนี้ ประโยชน์ที่ได้จากอีวีก็จะยิ่งมากขึ้นเข้าไปอีก  รูป 5 ตัวอย่างการแทนที่เครื่องดีเซลพร้อมระบบส่งก�าลังด้วย electric
                                                               transaxle ของบริษัท Magna https://youtu.be/eA36jWvYCnA


          34  วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39