Page 38 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 38
การถอดรื้ออุตสาหกรรมสู่ยานยนต์ไฟฟ้า จาก Automobile สู่ truck และ airplane
ว่าเครื่องยนต์สันดาปภายใน ซึ่งกับเวลาที่ผ่านมา ผลกระทบจาก แต่แก่นของเรื่องราวนี้ คงไม่ใช่อีวีจะเวิร์คในเซกเมนต์นั้นนี้
ก๊าซเรือนกระจกและมลพิษทางอากาศส่งผลเป็นพิษภัยต่อมวล หรือไม่ แต่เป็นเรื่องราวของวิชาชีพวิศวกร ที่ในวันนี้ของโลกที่
มนุษย์อย่างเถียงไม่ได้แล้ว เต็มไปด้วยจุดถอดรื้อ ไม่เพียงจะต้อง upskill เพื่อให้พร้อมมากขึ้น
การเดินทางของอีวีมาถึงจุดเปลี่ยนในวันนี้ เป็นตัวอย่างหนึ่ง ด้วยความรู้และทักษะใหม่ หรือ reskill กับความรู้และทักษะที่มี
ของการขยับระบบทางสังคมและเทคโนโลยี เป็นการเปลี่ยนผ่านสู่ อยู่เดิมเพื่อให้ทันเทคโนโลยี ข้อสังเกตจากบทความนี้ก็คือ ส�าหรับ
การผสานการท�างานระหว่างสามเกลอ คือมอเตอร์ แบตเตอรี่และ วิศวกรที่มีประสบการณ์กับเทคโนโลยีที่มีมาแต่เดิม สิ่งที่ยากกว่ามาก
ระบบพลังงานสะอาด ซึ่งอย่างที่ได้เล่ามาข้างต้น ต้องการการถอดรื้อ คือการ unskill การจะถอดตัวเองออกจากความคุ้นชิน ออกจาก
ทั้งจากปัจจัยทางอุตสาหกรรม ธุรกิจและระบบสังคม แต่เมื่อการ เซนส์ที่มั่นใจ ไปรู้จักกับระบบใหม่ ๆ ในบริบทใหม่ ๆ ซึ่งเมื่อได้
เปลี่ยนผ่านเกิดขึ้นแล้ว ก็คาดหวังได้ว่าจะเกิดการถอดรื้อไปเป็น unskill แล้ว การพัฒนาที่ส�าคัญๆ ยังเกิดขึ้นได้แม้จากหลักการ
ทอดๆ สู่หลากหลายเซกเมนต์ของยานยนต์ โดยในบทความนี้ก็ได้ พื้นฐาน ดังนั้นถ้าปัญหาระดับประเทศในวันนี้คืออุตสาหกรรมยาน
ยกตัวอย่างไปบ้างแล้วทั้งรถและรถบรรทุก โดยตั้งความหวังไปที่ ยนต์ไทยก�าลังจะตกขบวน และอีวีจะเป็นทางออกให้ได้ มา upskill,
เครื่องบินเป็นรายต่อไป reskill รวมถึง unskill กัน แล้วมาช่วยกันเป็นส่วนหนึ่งของการ
พัฒนาอีวีของไทย ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งกันครับ!
ประวัติผู้เขียนบทความ
รศ.ดร.อังคีร์ ศรีภคากร
ต�าแหน่งปัจจุบัน
อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์วิจัยยานยนต์และระบบขนส่งอัจฉริยะ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
38 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565