Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 37

การถอดรื้ออุตสาหกรรมสู่ยานยนต์ไฟฟ้า จาก Automobile สู่ truck และ airplane






















                  รูป 7 การปล่อยไอเสียจากรูปแบบต่างๆ ของการเดินทาง
              https://www.bbc.com/news/science-environment-49349566


              แต่อย่างไรก็ดี ค�าถามที่น่าสนมากกว่าคือ ท�าไมต้องท�าเครื่อง
            บินไฟฟ้า ประโยชน์จะมาได้อย่างไรกับเครื่องบินไฟฟ้า ค�าตอบ
            ที่น่าสนใจต่อค�าถามข้างต้นก็คือ เมื่อเทียบกับการเดินทางด้วย

            รถยนต์แล้ว การเดินทางด้วยเครื่องบินแบบไฟล์ทยาว (มากกว่า
            500  กม.)  ปล่อยก๊าซเรือนกระจก  (เมื่อคิดต่อผู้โดยสารต่อ
            กิโลเมตรเดินทาง)มากกว่ารถส่วนบุคคล (กรณีนั่งสองคนต่อคัน)  ต่อไป และในเมื่อปัญหารุนแรงสุดส�าหรับการเดินทางด้วย
            อยู่ราว 50% ซึ่งก็นับเป็นประเด็นปัญหานับหนึ่งที่ชี้ถึงความจ�าเป็น  เครื่องบิน อยู่ที่การเดินทางแบบไฟล์ทสั้น โอกาสของระบบขับ
            ในการพัฒนาทางเลือกที่จะออกจากเครื่องกังหันแก๊สที่ใช้ใน  เคลื่อนทางไฟฟ้า ที่มอเตอร์และแบตเตอรี่จะท�างานร่วมกัน
            เครื่องบิน แต่ยิ่งไปกว่านี้ ข้อมูลบ่งชี้ว่ากรณีการเดินทางด้วยเครื่อง  ให้ตอบโจทย์การเดินทางในรูปแบบเครื่องบินไฟฟ้าก็อาจอยู่ไม่

            บินแบบไฟล์ทสั้น (ระหว่างเมือง ในประเทศเดียวกัน) จะปล่อย  ไกลจากวันนี้เท่าไหร่นัก
            ก๊าซเรือนกระจกมากกว่ารถส่วนบุคคลได้กว่าสามเท่า ปัญหาด้าน
            ก๊าซเรือนกระจกและมลภาวะต่อชั้นบรรยากาศในกรณีไฟล์ทสั้นนี้
            เริ่มได้รับความตระหนักมากขึ้น จนหลายประเทศในยุโรป เริ่มที่จะ     บทสรุป

            ห้ามการเดินทางไฟล์ทสั้น และให้ใช้รถไฟแทน (ซึ่งโดยข้อมูลปล่อย

            ก๊าซเรือนกระจกน้อยได้กว่าครึ่งเมื่อเทียบกับรถส่วนบุคคลกรณี    มาถึงตรงนี้ ผู้อ่านคงพอเห็นได้แล้วว่า อีวีไม่ใช่เพียงการ
            นั่งสองคนต่อคัน) ดังนั้น เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก  เปลี่ยนเครื่องยนต์ออกแล้วใส่มอเตอร์แทน  แต่คือความ
            รูปแบบการเดินทางขนส่ง ในแวดวงการวิจัยและพัฒนา ก็มีการ  พยายามของสังคมมนุษย์ในการพาระบบเดินทางขนส่ง
            พัฒนาทางเลือกอื่นอยู่อีกบ้าง เช่น การผลิตเชื้อเพลิงเหลว e-fuel   เปลี่ยนผ่านจากการยึดครองของคู่หูระหว่างเครื่องยนต์และ
            ที่การผลิตใช้พลังงานต้นทางจากพลังงานสะอาด  แล้วน�ามา  เชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งคือการใช้ประโยชน์ของตัวกลางทาง
            ใช้ท�างานกับเครื่องกังหันแก๊สแบบดั้งเดิม  แต่ข้อมูลข้างต้นก็ชี้  พลังงานที่มีความหนาแน่นเชิงพลังงานอย่างอัศจรรย์ในตัว
            ให้เห็นถึงเหตุผลที่ต้องพยายามในการพัฒนาเครื่องบินไฟฟ้า  เชื้อเพลิงฟอสซิล ผ่านความซับซ้อนของเครื่องจักรกลที่ชื่อ
















                                                                                    ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565  วิศวกรรมสาร 37
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42