Page 39 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 39
คอลัมน์ วิศวกรใช้ภาษา
รองศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์ ช่อวิเชียร
ต�าหนิ
วิจารณ์ ร่วมในการวิพากษ์วิจารณ์หัวข้อทางศาสนา
การเมือง ฯลฯ ที่เห็นว่าจะน�าพาไปสู่ความ
รุนแรง ข้อนี้พูดง่าย แต่หลายครั้งท�ายาก
พึงเป็น แต่ถ้าท�าได้ ข้อต่อ ๆ ไปก็ไม่ต้องพูดถึง
2) อุเบกขา พรหมวิหาร (ที่อยู่แห่ง
อารยะ พรหม) ข้อนี้ใช้ได้ในทุกกรณี เมื่อท่านเห็น
การวิจารณ์ที่สุดโต่ง หยาบคาย กักขฬะ
ก็ท�าใจนิ่งเฉย ด้วยความคิดที่ว่า ผู้แสดง
เป็นทุนเดิมอยู่ แต่ในปัจจุบันสังคมที่เน้น ความเห็นนั้นอยู่ในสภาวะที่น่าสงสาร
การรักษาปัจเจกสิทธิท�าให้ผู้คนปัจจุบัน ไม่อาจช่วยเหลือได้แล้ว
ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ใช้ ทั้งหนุ่มสาว และแก่เฒ่า ละเลยวัฒนธรรม
social media ในการสื่อสาร เหล่านี้ มุ่งแต่จะรักษาสิทธิในการแสดงออก 3) ค�าสุภาพ ต้องยึดมั่นในหลักการที่ว่า
สิ่งโสโครกไม่อาจล้างได้ด้วยสิ่งที่โสโครก
กัน มีทั้งที่เป็นการสื่อสาร ไว้เหนือสิ่งอื่นใด (มากกว่า) เมื่อท่านต้องการจะวิจารณ์
ตัวต่อตัว และสื่อสารเป็นกลุ่ม พึงต้องระมัดระวังมากขึ้นที่จะไม่ใช้ภาษา
ในการสื่อสารเป็นกลุ่มมีทั้งที่ใช้ สมบัติผู้ดี หยาบคายไปตอบโต้ (ถึงแม้ว่าจะไม่ “สะใจ”
เพื่อประสานงานการท�างาน เข้าใจว่า ค�าว่า “สมบัติผู้ดี” คงจะหาย ก็ตาม)
และที่ใช้เพื่อแลกเปลี่ยนความ ไปจากพจนานุกรมไทยไปซะแล้ว ด้วยไม่ พึงระลึกไว้ว่า “สกปรกติดตรึงนาน”
คิดเห็นกันในเรื่องต่าง ๆ เห็นจะมีใครพูดถึงเลย การแสดงออกใน คราบสกปรกย่อมฝังรากลึก ค�าพูดที่หยาบคาย
social media แทบจะไม่เหลือคราบความ โดยผู้พูดที่ “ไร้สกุลรุนชาติ” จะถูกจดจ�าไป
เป็นผู้ดีไว้ให้ได้เห็นกันเลย อีกนานแสนนาน
ในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ
ก็เป็นธรรมดาที่จะต้องมีความเห็นที่แตกต่าง สวัสดี
บางครั้งมีการใช้ถ้อยค�าทีรุนแรงจนท�าให้ “ส�าเนียงส่อภาษา”
กลายเป็นกิจกรรมที่บั่นทอนมิตรภาพแทนที่ ภาษิตไทยข้อนี้ก็ยังคงใช้ได้ดีที่ท�าให้
จะเป็นการเสริมสร้างมิตรภาพ สามารถจ�าแนกผู้แสดงความคิดเห็นทั้ง ต�าหนิวิจารณ์พึงเป็นอารยะ
มีหลายคนที่ใช้ภาษาหยาบคายในการ หลายตามแนวทางของการใช้ภาษาของเขา
แสดงความคิดเห็น และเนื่องจากว่าในสื่อ เหล่านั้น ท่านคงไม่อยากจะถูกจ�าแนกว่า มีสติต�าหนิกันพอคันปาก
ต่าง ๆ เหล่านี้ไม่มีการควบคุมการใช้ภาษา เป็น “ไพร่” ในการใช้ภาษาในการวิพากษ์ ค�าพูด “สากกะเบือ/เสือก”
(ยกเว้นกรณีที่มี administrator ดูแล) การ วิจารณ์ ไม่เลือกสรร
แสดงความคิดเห็นบางครั้งก็เข้าสู่ระดับ ค�าสุภาพนุ่มนวลจักใช้กัน
ความรุนแรงจนไม่อาจเยียวยาได้ หลักการ รากเหง้าชั้นไม่ต�่าถ่อยด้อยอบรม
ต่อไปนี้คือข้อแนะน�าในการใช้ภาษาใน เศษสถุลสกุลไพร่ไร้ศึกษา
วัฒนธรรม social media แม้นมารดาครูสอนไม่สั่งสม
คนไทยเรามีวัฒนธรรมในการแสดง 1) หลีกเลี่ยงบางหัวข้อที่จะแสดงความ สุดหยาบคายพร่องขาดคุมอารมณ์
ความสุภาพต่อมิตรสหาย ต่อแขกผู้มาเยือน เห็น ถ้าท�าได้ควรหลีกเลี่ยงการเข้าไปมีส่วน จิตระบมจมปลักวจีทราม
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 39