Page 42 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 42

รถทัวร์โดยสารไฟฟ้าระหว่างเมือง


            ในช่วง 1-2 ปี ที่ผ่านมา รัฐบาลปัจจุบันได้น�าเสนอนโยบายใน  แบบเร็วด้วยแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอออน NMC จะใช้เวลาประจุไฟฟ้า
          การสนับสนุนและส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าอย่างชัดเจน โดยจะพบว่า   เหลือเพียง 18 - 30 นาที เท่านั้น เมื่อพิจารณาจากเส้นทางระหว่าง
          ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานรัฐและเอกชนมีความพยายามที่จะผลัก  จังหวัดนครราชสีมาถึงกรุงเทพมหานครที่มีระยะทาง 250 กิโลเมตร
          ดันให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าขึ้นในประเทศไทย  โดยประมาณ หากวางสถานีประจุไฟฟ้าไว้กลางทาง สามารถหยุดแวะ
          โดยมุ่งเน้นไปที่ระบบขนส่งผู้โดยสาร เช่น รถเมล์ รถมินิบัส รถทัวร์  เติมประจุไฟฟ้าได้ โดยจะใช้เวลาเพียง 5 - 10 นาที ท�าให้รูปแบบ

          เป็นต้น แผนงานวิจัยนี้ได้เล็งเห็นถึงปัญหาในระบบขนส่งมวลชน  การให้บริการนี้มีศักยภาพและได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ
          สาธารณะของจังหวัดนครราชสีมา ทางหน่วยงานวิจัยจึงได้จัดท�าแผน    แนวทางการพัฒนารถโดยสารรูปแบบนี้เป็นการลดขนาดของ
          งาน Korat Electric-City ขึ้นเพื่อให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นมหานคร  แบตเตอรี่ให้เล็กลงหรือเลือกใช้ตัวเก็บประจุยิ่งยวด (ultracapacitor)
          ต้นแบบในการใช้พลังงานไฟฟ้าในโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน  ท�าการติดตั้งอุปกรณ์สะสมพลังงานบนรถโดยสารเฉพาะที่จ�าเป็น
          ต่าง ๆ และกิจกรรมภายในชุมชนเมือง ดังนั้น จังหวัดนครราชสีมา  ร่วมกับการวางระบบประจุไฟฟ้าตามเส้นทางวิ่ง เช่น การติดตั้งระบบ
          มีความจ�าเป็นต้องสร้างโครงการน�าร่องใช้งานระบบขนส่งมวลชน  ประจุไฟฟ้าแบบเร็วบนหลังคารถโดยสาร (rooftop fast charging

          ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นตัวอย่าง  system) ที่ป้ายรถโดยสารบางจุด หรือในปั้มน�้ามันระหว่างทาง
          ในการผลักดันระบบขนส่งสาธารณะที่ใช้รถโดยสารไฟฟ้าเป็นกรณีศึกษา  (กรณีของรถทัวร์ระหว่างเมือง) กระจายไปตามเส้นทาง แบตเตอรี่
          ของประเทศไทย เพื่อมุ่งหวังให้สามารถลดการใช้งานรถยนต์  ที่ติดตั้งจะมีขนาดพอเหมาะให้รถโดยสารวิ่งไปถึงป้ายรถโดยสารถัด
          ส่วนบุคคล และแก้ปัญหาสภาพการจราจรในพื้นที่เขตเมืองนครราชสีมา  ไปที่ติดตั้งระบบประจุไฟฟ้า ในขณะหยุดรับส่งผู้โดยสารจะท�าการ
          ในปัจจุบัน และยังจะเป็นการสะสมองค์ความรู้จากการออกแบบและ  ประจุไฟฟ้าประมาณ 15 - 20 วินาที ซึ่งเพียงพอในการเติมพลังงาน

          ผลิตยานยนต์ไฟฟ้าในระดับใช้งานจริงร่วมกับภาคเอกชนในท้องถิ่น   เพื่อใช้เดินทางไปยังปลายทางหรือจุดที่ประจุไฟฟ้าได้ถัดไป ดังรูปที่ 1
          ได้แก่ บริษัท เชิดชัย คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ผลิตรถ
          บัสโดยสารรายใหญ่ของประเทศที่ก่อตั้งอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา
          เพื่อเตรียมพร้อมในการผลิตรองรับตลาดที่ก�าลังจะเกิดขึ้นในอนาคต
          เพื่อสนองนโยบายภาครัฐและความต้องการจากประชาชน




              สมมติฐาน และกรอบแนวคิด
              ของโครงการ



            คณะวิจัยและผู้ประกอบการ ในที่นี้ คือบริษัท เชิดชัย คอร์ปอเรชั่น
          จ�ากัด ได้เล็งเห็นว่า การน�ารถทัวร์โดยสารไฟฟ้ามาวิ่งให้บริการ

          ระหว่างจังหวัดนครราชสีมาและกรุงเทพมหานคร มีความเป็นไปได้
          หากมีการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยโดยให้สามารถประจุไฟฟ้าได้รวดเร็ว
          เช่น ภายใน 10 - 15 นาที ในขณะแวะพักระหว่างทาง จะท�าให้แก้ปัญหา
          เรื่องขนาดความจุของแบตเตอรี่ได้ ซึ่งแบตเตอรี่ลิเที่ยมไอออนชนิด
          NMC สามารถรองรับการประจุไฟฟ้าแบบเร็วได้ถึง 6C - 10C นั่น
          คือ จะลดเวลาการประจุแบตเตอรี่ได้ในอัตราส่วนลดลง 6 - 10 เท่า
          หากออกแบบให้รถทัวร์โดยสารไฟฟ้ามีความจุแบตเตอรี่ที่สามารถวิ่ง

          ได้เป็นระยะทาง 200 กิโลเมตร โดยใช้การประจุแบบปกติในอัตรา
          1C ที่เวลา 3 ชั่วโมง หากใช้การออกแบบให้รองรับการประจุไฟฟ้า  รูปที่ 1 ระบบประจุไฟฟ้าแบบเร็วบนหลังคารถโดยสารไฟฟ้า







          42  วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47