Page 47 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 47

รถทัวร์โดยสารไฟฟ้าระหว่างเมือง


              การสร้างสถานีประจุไฟฟ้าของรถทัวร์โดยสารไฟฟ้าจ�าเป็น  (Extra-urban driving cycle for low-powered vehicles)
            ต้องมีโครงสร้างพื้นฐานและหม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อรับไฟฟ้าสามเฟส  ซึ่งเป็นเส้นทางการขับขี่นอกเมืองอ้างอิงจาก United States
            และแปลงเป็นไฟฟ้ากระแสตรงเพื่ออัดประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ พิกัด  Environmental Agency (EPA)  ตัวแปรที่น�ามาพิจารณาประกอบ
            ของหม้อแปลงไฟฟ้าส�าหรับระบบประจุไฟฟ้าแบบเร็วค�านวณจาก  คือ เวลาการขับชี่ ระยะทางขับขี่ ความเร็วเฉลี่ย ความเร็วสูงสุด
            พิกัดของเครื่องประจุไฟฟ้าที่ 350 kW โดยพิจารณาเผื่อโหลดเกิน  และค่าพลังงานที่ใช้ในการขับขี่ ผลการทดสอบจะประเมินและ
            ร้อยละ 25 และตัวประกอบก�าลัง 0.9 เพราะฉะนั้นหม้อแปลงต้องมี  เปรียบเทียบสมรรถนะกับข้อก�าหนดทางเทคนิคที่ได้ออกแบบไว้
            พิกัดก�าลังอย่างน้อย 486 kVA  ทีมวิจัยจึงเลือกหม้อแปลงขนาด 500    บริษัท เชิดชัย คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด มีแผนจะร่วมด�าเนินการ
            kVA การติดตั้งเครื่องประจุไฟฟ้าแบบเร็ว 1 สถานีที่อาคารศูนย์วิจัย  กับบริษัท ราชสีมาทัวร์ จ�ากัด ซึ่งได้รับสัมปทานเส้นทางเดินรถ
            เทคโนโลยีฉุดลากและยานยนต์อัตโนมัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร  ทัวร์โดยสารปรับอากาศ เส้นทางระหว่างจังหวัดนครราชสีมาและ
            นารี เพื่อใช้ในการทดสอบการอัดประจุไฟฟ้าส�าหรับรถโดยสารไฟฟ้า  กรุงเทพมหานคร โดยจะน�ารถโดยสารไฟฟ้าที่สร้างขึ้นมาวิ่งให้บริการ
            โดยรับไฟฟ้าสามเฟสจากหม้อแปลง 500 kVA ที่ติดตั้งอยู่ภายนอก  ในเชิงพาณิชย์ในเส้นทางมอเตอร์เวย์กรุงเทพมหานคร-นครราชสีมา
            อาคาร ผ่านตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก เพื่อจ่ายก�าลังไฟฟ้าให้กับ  ในปัจจุบันการวิ่งให้บริการในเส้นทางดังกล่าวโดยใช้รถโดยสารปรับ
            Power Unit โดยใช้หมอแปลง Isolating Transformer ขนาด 400  อากาศชั้น 1 (ข) จะมีอัตราการใช้เชื้อเพลิงอยู่ที่ 0.4 ลิตรต่อกิโลเมตร

            kVA ดังแผนผังการติดตั้งเครื่องประจุไฟฟ้าแบบเร็วแสดงดังรูปที่ 9  (ประมาณ 11.6 บาทต่อกิโลเมตร)  ทางโครงการได้ตั้งเป้าหมายว่า
                                                                 รถโดยสารไฟฟ้าต้นแบบที่สร้างขึ้นจะมีอัตราสิ้นเปลืองพลังงาน
                                                                 ไฟฟ้าไม่เกิน 1.5 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อกิโลเมตร (ประมาณ 6 บาท
                ผลการทดสอบเบื้องต้น                              ต่อกิโลเมตร) ดังนั้น บริษัทที่จะด�าเนินการให้บริการเชิงพาณิชย์ด้วย

                                                                 รถโดยสารไฟฟ้าต้นแบบจะสามารถประหยัดต้นทุนค่าเชื้อเพลิงได้
              รถทัวร์โดยสารไฟฟ้าที่สร้างขึ้นจะได้รับการทดสอบบนสภาพ  มากและใช้เวลาในการคืนทุนไม่นาน เส้นทางการให้บริการเดินรถ
            ถนนจริง โดยอ้างอิงมาตรฐาน UN/ECE Regulation No.83   ทัวร์ไฟฟ้ามีเส้นทาง ดังในรูปที่ 10































                    ต้นทาง (นครราชสีมา)                             จุดประจุแบตเตอรี่ (สระบุรี)                          ปลายทาง (กทม.)









                            รูปที่ 10 ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข 6 สายบางปะอิน – สระบุรี – นครราชสีมา


                                                                                    ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565  วิศวกรรมสาร 47
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52