Page 43 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 43
รถทัวร์โดยสารไฟฟ้าระหว่างเมือง
เพื่อให้มองเห็นภาพ ระบบรถโดยสาร
ไฟฟ้ารูปแบบนี้ใช้หลักการที่ว่า ถ้าพลังงาน
ที่ใช้ในการเดินทางของรถโดยสารใช้ไป
ทั้งสิ้น 20 kWh จากต้นทางไปยังปลาย การติดตั้งแบตเตอรี่ขนาดใหญ่ ใช้พลังงานเกือบทั้งหมดแล้วประจุไฟฟ้าที่ปลายทาง
ทาง หากก�าหนดให้ติดตั้งระบบประจุไฟฟ้า
ที่ปลายทางทั้ง 2 ด้าน แบตเตอรี่ที่ใช้ต้องมี
ความจุดอย่างน้อย 20 kWh เมื่อก�าหนดจุด ติดตั้งแบตเตอรี่ขนาดเล็กหรือ Ultracap
ประจุไฟฟ้าที่ป้ายโดยสารโดยให้แบ่งระยะ ประจุพลังงานเพิ่มเติมที่ป้ายหยุดรถโดยสาร
เท่ากัน ออกเป็น 10 ช่วง เพื่อประจุไฟฟ้า
ตามเส้นทาง จะพบว่า ในแต่ละช่วง ต้องการ รูปที่ 2 การเปรียบเทียบรถโดยสารไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่ทั้ง 2 รูปแบบ
พลังงาน 2 kWh เท่านั้น ซึ่งมีความเป็น ชัยอุตสาหกรรม จ�ากัด เปิดตัวรถบัสไฟฟ้าคันแรกของประเทศที่พัฒนาขึ้นโดยฝีมือคนไทย
ไปได้ที่จะน�าตัวเก็บประจุยิ่งยวดมาใช้งาน พร้อมสถานีประจุแบตเตอรี่ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์ เป็นหัวหน้า
ทดแทน พิจารณาได้ดังรูปที่ 2 นอกจากนี้ โครงการวิจัย ได้เปิดตัวรถโดยสารไฟฟ้าไร้มลพิษ (PEA Ze-bus) ดังรูปที่ 4 ณ ส�านักงาน
โครงสร้างการประจุไฟฟ้าแบบเร็วอาจ ใหญ่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรุงเทพมหานคร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ (PEA) โดย
จะใช้รูปแบบของการประจุแบบเหนี่ยวน�า PEA ที่มีแผนในการใช้พลังงานไฟฟ้าในภาคคมนาคมขนส่ง เพื่อเสริมสร้างบทบาทในการ
(inductive power charging) หรือที่นิยม เป็นผู้ให้บริการพลังงานไฟฟ้าในภาคคมนาคมขนส่งประเทศ ดังนั้น กองทุนวิจัยและพัฒนา
เรียกว่าการประจุแบบไร้สาย (wireless เทคโนโลยีของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จึงได้ให้ทุนสนับสนุนแก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุร
charging) ดังในรูปที่ 3 แสดงถึงโครงสร้าง นารี ในการด�าเนินการศึกษาวิจัยโครงการสาธิตรถโดยสารไร้มลพิษส�าหรับ การไฟฟ้าส่วน
พื้นฐานของระบบการประจุไฟฟ้าแบบ ภูมิภาค หรือ PEA รถโดยสารไร้มลพิษ เป็นรถโดยสารขนาด 43 ที่นั่ง สามารถท�าความ
เหนี่ยวน�า เร็วสูงสุด 90 km/h วิ่งได้ 100 km โดยประมาณ ที่ความเร็วเฉลี่ยประมาณ 60 km/h ต่อ
เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2557 การไฟฟ้า การประจุแบตเตอรี่หนึ่งครั้ง ระบบขับเคลื่อนใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวน�า (Induction) ขนาด
ส่วนภูมิภาค (PEA) ร่วมกับ มหาวิทยาลัย 120 kW (260 kW) ใช้แบตเตอรี่ชนิดลิเที่ยม-ไอออน (Lithium-ion) ขนาดความจุ 196
เทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) และบริษัทอู่เชิด kWh ระบบประจุแบตเตอรี่ใช้ไฟขนาด 80 kVA แรงดัน 430-630 VDC จ่ายกระแสไฟฟ้าที่
รูปที่ 3 การประจุไฟฟ้าแบบเหนี่ยวน�า
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 43