Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 30
ตอนที่ ๗ เก่าจะไป ใหม่จะมา หาเวลา ไปรู้จัก
เส้นทางล�าเลียง และแหล่งสินแร่เหล็ก
ซึ่งมีในเขาทับควาย และบริเวณใกล้เคียง
ในจังหวัดลพบุรีไว้แล้ว) แต่สร้างไม่แล้วเสร็จ
ยังคงสภาพไว้ถึงปัจจุบัน อีกแห่งหนึ่งที่ต้อง
กล่าวถึง คือ สะพานรถไฟที่สถานีจันเสน
นครสวรรค์ เพราะมีรูปแบบคล้ายคลึง
หรือเหมือนกับสะพานที่บ้านไร่โดยบังเอิญ
แท้จริงแล้ว ผู้ก่อสร้าง มาจากประเทศ รูปที่ ๑๓ สะพานที่บ้านไร่ ลพบุรี และสะพานที่สถานีจันเสน นครสวรรค์ เป็นสะพานคู่แฝด
เดียวกัน การส่งต่อเทคโนโลยี หรือภารกิจ อย่างไม่น่าเชื่อ (อนุเคราะห์โดย พงษ์พันธ์ ลิมป์อนันตชัย)
จึงไม่ใช่เรื่องแปลก (รูปที่ ๑๓)
บางอาคาร หรือโครงสร้าง อาจมีเหตุให้
เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุผล หรือความจ�าเป็น
เช่น เปลี่ยนรูปแบบ เปลี่ยนวัสดุ สะพาน
พระรามที่ ๖ เดิมเป็นโครงถักแบบหลังสูง
(อาจเรียกว่าเป็น Camel - back through
truss) เมื่อเสียหายเพราะสงครามโลก
ซ่อมแซมใหม่ รูปแบบเปลี่ยนไปเป็น Through รูปที่ ๑๔ สะพานพระรามที่ ๖ และสะพานจุลจอมเกล้า สุราษฎร์ธานี เสียหายเพราะสงครามโลก
Truss แบบหลังเรียบ (Warren truss with เมื่อซ่อมแซมใหม่ รูปแบบเปลี่ยนไป (อนุเคราะห์โดย เชาววัศน์ มังกร และโชติกร หังสพฤกษ์)
and post & hanger) สะพานจุลจอมเกล้า
ที่อ�าเภอพุนพิน สุราษฎร์ธานี ก็เช่นกัน
(รูปที่ ๑๔) ลองหาเหตุผลว่า เพราะเหตุใด ?
สะพานแบบหอสูงไม้ถ�้ากระแซ กาญจนบุรี
ที่ก่อสร้างในช่วงสงครามโลก พร้อม ๆ กับ
สะพานข้ามแม่น�้าแควใหญ่ หากต้องซ่อมแซม
กี่ครั้ง ก็ต้องคงความเป็นหอสูงไม้เอาไว้
เช่นเดิม แม้ไม้จากหายากขึ้น หรือราคา รูปที่ ๑๕ สะพานแบบหอสูงไม้ถ�้ากระแซ กาญจนบุรี และสะพานแบบหอสูงคอนกรีตเสริมเหล็ก
แพงขึ้น เพราะต้องคงความเป็นสะพาน ขุนผาเมือง เพชรบูรณ์ (อนุเคราะห์โดย อานุภาพ ศรีเมือง และนวพงษ์ นิลโชติ)
ประวัติศาสตร์ แต่กรณีสะพานขุนผาเมือง
(ห้วยตอง) ต้องก่อสร้างเป็นสะพานแบบ ส่งท้าย
หอสูงวางพื้นสะพาน (Deck slab) แบบ
เรียบง่าย ก่อสร้างสะดวก แต่มีเหตุผล ท่านมีโอกาส ทันได้เห็น หรือเรียนรู้ “โบราณ และงานวิศวกรรม” ในยุคร่วมสมัย หรือรอยต่อ
ลึกล�้า เชื่อว่าคงได้แนวคิดจากสะพานหอสูง จากเก่าสู่ใหม่ ก่อนจะจากไป ได้แวะไปดูใจ เพื่อจดจ�า เรียนรู้ ให้มากมากกว่า “อ�าลา” บ้างเถิด
ของรถไฟ ที่ปางยางเหนือ ปางยางใต้ และ แม้มนุษย์ไม่ควรจะถูกรั้ง หรือยึดติดกับอดีต เพราะจะไม่ก้าวไปข้างหน้า แต่ทว่า อดีตท�าให้มี
ปางแงะมาบ้าง แต่เลือกที่จะใช้หอสูงคอนกรีต ปัจจุบัน หากปัจจุบันที่ไม่ต้องการอดีต จะท�าให้มีอนาคตได้อย่างไรเล่า บางคนว่า เหมือนตึกที่
เสริมเหล็ก ซึ่งระหว่างก่อสร้าง สามารถท�าได้ ฐานรากไม่แข็งแรง เหมือนต้นไม้ไร้รากแก้ว มนุษย์ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ แต่เพราะความเป็นผู้สร้าง
ต่อเนื่อง หรือจะหยุดค้างไว้เมื่อมีเหตุจ�าเป็น คอมพิวเตอร์ และปัญญาประดิษฐ์ หรืออัจฉริยะเทียม - AI ดังนั้น หาก “เรียนให้รู้ ดูให้เห็น”
ก็ได้ ซึ่งน่าจะสะดวกกว่างานประกอบ และ เป็นข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ หรือเห็น อย่างเป็นระบบ ที้เห็นว่าเป็น
ติดตั้งหอเหล็ก อีกทั้งหากมีเหตุไม่ปกติ ประโยชน์กับตนเอง โดยเฉพาะในการประกอบวิชาชีพ ปรับปรุงเพิ่มเติมความรู้ หรือท�าตาม
เช่น บางตอม่อถูกระเบิดเสียหาย ก็ยังเหลือ กระบวนเหล่านี้เป็นวงจรซ�้าแล้วซ�้าเล่า เหมือนเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต มนุษย์สร้างปัญญาประดิษฐ์
ตอม่ออื่นอีกจ�านวนมาก (รูปที่ ๑๕) อย่างไร ก็เลียนแบบปัญญาประดิษฐ์สร้างความเฉลียวฉลาดลุ่มลึกของตนเอง เช่นกัน สวัสดีครับ
30 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565