Page 68 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 68

ตอนที่ 6 ค�าถามคาใจ น�้ามันรั่ว ทะเลไทย


                                                              Dispersant  ที่ใช้ในทั้ง  2  อุบัติเหตุน�้ามันรั่วคือ
                                                              Slickgone  NS  นอกจากจะประกอบด้วยสาร
                                                              ลดแรงตึงผิว  (Surfactant)  คือสาร  Sodium
                                                              Dioctylsulphosuccunate (ความเข้มข้น 1-10%)
                                                              CAS No.577-11-7 ที่ท�าให้เกิดอิมัลชั่นของหยด

                                                              น�้ามันเล็ก ๆ แขวนลอยในน�้าแล้ว ยังประกอบด้วยตัว
                                                              ท�าละลายคือ Kerosene หรือ น�้ามันก๊าด (ความเข้มข้น
                                                              60-70%) (CAS No.  64742-47-8) อีกด้วย ซึ่งปัญหา
                                                              อันหนึ่งคือสาร Kerosene นี้เป็นสารประเภทน�้ามันเบา
                                                              ท�าให้โดยตรรกะสามารถเข้าใจได้ว่าการใช้ Dispersant
                                                              ก็คือการเติมน�้ามันเบาลงไปในทะเลเพิ่มเติมจากน�้ามัน

                                                              ดิบที่หกรั่วไหลอยู่แล้วนั้นเอง และเกิดความกังวลว่าจะ
                    รูปที่ 2 สาเหตุของมลพิษน�้ามันในทะเล [3]  ท�าให้เกิดพิษต่อระบบนิเวศมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร จาก
                                                              งานวิจัยในปี 2014 [5] ซึ่งประเมินความเป็นพิษและ

          ค�าถามคาใจข้อที่ 2:                                 การสลายตัวตามธรรมชาติของ Kerosene สรุปได้ว่า
          ท�าไมต้องใช้  Dispersant  (สารกระจายคราบน�้ามัน)?    Kerosene สามารถถูกย่อยสลายได้โดยจุลชีพในทะเล
          แล้ว Dispersant ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมจริงไหม?       ตามธรรมชาติ Kerosene ไม่มีพิษแบบเฉียบพลัน แต่มี
                                                              พิษเรื้อรังจากการทดสอบผลต่อการขยายพันธ์ของปลา
          ตอบ: ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ใน 2 อุบัติเหตุน�้ามันรั่วไหลครั้งใหญ่   (D. magna) งานวิจัยรายงานว่าหากความเข้มข้นของ

          ในประเทศไทย เราจะเห็นการใช้ Dispersant (สารกระจายคราบ  Kerosene ในน�้ามากกว่า 0.092 ถึง 0.23 มิลลิกรัม
          น�้ามัน) เป็นหนึ่งในมาตรการส�าคัญ (ร่วมกับการใช้ทุ่นดักน�้ามัน    ต่อ ลิตร จะท�าให้เกิดผลกระทบดังกล่าวกับปลาและ
          ทุ่นดูดซับน�้ามัน) และมักจะมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อ  สิ่งมีชีวิตในทะเล ฉะนั้นการใช้ Kerosene อย่าง
          ระบบนิเวศจากการใช้ Dispersant ท�าให้เกิดข้อข้องใจว่าท�าไมต้อง  สม�่าเสมอไม่ดีต่อสัตว์น�้าแน่ ๆ แต่หากใช้นาน ๆ ครั้ง
          ใช้ Dispersant? Dispersant คืออะไร? และท�าอะไรกับน�้ามันรั่ว?   อาจจะไม่เกิดผลกระทบมากนัก เพราะไม่เกิดผล
            อย่างที่เราทราบกัน น�้ามันเกลียดน�้า (Hydrophobic) ฉะนั้น   กระทบเฉียบพลัน
          เมื่อเกิดการหกรั่วไหล น�้ามันจึงลอยตัวอยู่บริเวณผิวน�้า ไม่ยอม

          ผสมกับน�้า ท�าให้น�้ามันเคลื่อนที่ไปกับกระแสน�้า กระแสลมได้อย่าง
          รวดเร็วท�าให้ขึ้นฝั่งปนเปื้อนชายหาดได้อย่างรวดเร็ว แม้กระนั้น
          ด้วยกระบวนการตามธรรมชาติน�้ามันที่ลอยอยู่จะค่อย ๆ ละลาย
          (Dissolved) และกระจายตัวอย่างแขวนลอยลงไปในน�้า (Dispersed)
          แต่ช้ามาก สาร Dispersant เร่งกระบวนการให้น�้ามันกระจายตัว

          แบบแขวนลอยในน�้าเป็นหยดเล็ก ๆ ท�าให้เกิดอิมัลชั่น ซึ่งจะท�าให้
          คราบน�้ามันบนผิวน�้าหายไปเพราะกระจายตัวแขวนลอยไปในน�้าหมด
          นั่นเอง [4] เมื่อน�้ามันแขวนลอยหยดเล็กลงจะท�าให้ละลายน�้าได้ดี
          มาก ๆ ด้วย การใช้ Dispersant จึงเร่งทั้งการสร้างหยดน�้ามันขนาด
          เล็กแขวนลอยในน�้าทะเล และเร่งการละลายของน�้ามันสู่น�้าทะเล
          ด้วย (รูปที่ 3) นอกจากนี้เมื่อน�้ามันกลายเป็นหยดเล็ก ๆ แขวนลอย

          ในทะเลก็จะเกาะรวมตัวกับอนุภาคแขวนลอยต่าง ๆ ในทะเล ท�าให้
          หยดน�้ามันหนักขึ้นและจมลงสู่ท้องทะเลได้ด้วย



          68  วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73