Page 69 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 69
ตอนที่ 6 ค�าถามคาใจ น�้ามันรั่ว ทะเลไทย
อย่างไรก็ดีหยดน�้ามันดิบทั้งที่แขวนลอยในน�้า ละลายในน�้า ของชาวประมงที่อาจได้รับผลกระทบ ที่ส�าคัญคือการวางแผนและ
และที่จมลงสู่ท้องทะเลมีหลากหลายสารอันตรายที่เป็นองค์ การท�าข้อตกลงร่วมกับชุมชนควรด�าเนินการตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุน�้ามัน
ประกอบของน�้ามันดิบไม่ว่าจะเป็นโลหะหนัก ปรอท และสาร รั่วเพื่อจะได้มีความเข้าใจในแผนเผชิญเหตุที่ตรงกัน และทราบถึง
โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic บทบาทความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นของแต่ละภาคส่วน
Hydrocarbons, PAHs) ที่อาจส่งผลต่อสัตว์น�้าและสามารถ
ปนเปื้อนสะสมในห่วงโซ่อาหาร อันนี้มีหลากหลายงานวิจัยที่ ค�าถามคาใจข้อที่ 3:
ยืนยันชัดเจน ดังแสดงในรูปที่ 4 [6] ฉะนั้นการใช้ Dispersant ท�าอย่างไรถึงจะดีขึ้น? ท�าอย่างไรถึงจะป้องกันปัญหาได้?
ช่วยปกป้องการปนเปื้อนชายหาดได้ ช่วยลดความกังวลของ
สาธารณชนได้เมื่อคราบน�้ามันหายไป แต่ผลกระทบต่อสัตว์น�้า ตอบ: อุบัติเหตุน�้ามันรั่วไหลครั้งใหญ่ในประเทศไทย 2 ครั้งล่าสุด
และความปลอดภัยของอาหารทะเลในพื้นที่นั้นเป็นประเด็น เกิดจากสาเหตุเดียวกันคือท่อขนถ่ายน�้ามันช�ารุดท�าให้เกิดการรั่วไหล
ที่ต้องท�าการประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง เพราะ ด้วยเหตุนี้การใช้เทคโนโลยีในการป้องกัน ตรวจสภาพ และประเมิน
Dispersant ไม่ได้ท�าให้น�้ามันดิบสลายหายไป แต่แปลงสภาพ ความเสี่ยงจากการรั่วไหล และแจ้งเตือนการซ่อมบ�ารุงเชิงป้องกัน
ปัญหาจากที่ตาเห็น เป็นที่ตาไม่เห็น แต่เข้าไปอยู่ในอาหาร จึงเป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก ในปัจจุบันมีหลากหลายเทคนิคเซ็นเซอร์ชั้น
ทะเลแทน สูงส�าหรับเฝ้าระวังการช�ารุดเสียหายของท่อขนส่งน�้ามันและแก๊ส
ในมุมมองของของผู้เขียน การที่ผู้ก่อให้เกิดมลพิษ/ผู้เผชิญเหตุ ใต้ทะเล เช่น เทคนิค Guided waves ที่สามารถตรวจสอบผนัง
ตัดสินใจใช้ Dispersant เพราะประเมินแล้วว่าอาจจะไม่มี ของท่อล�าเลียงที่บางลดได้ (ดูรูปที่ 6) ท�าให้สามารถด�าเนินการซ่อม
ทางเลือกในการจัดการที่ดีกว่าในการจัดการความเสี่ยงของตน บ�ารุงเชิงป้องกันได้ก่อนจะเกิดการรั่วไหล นอกจากเทคนิคนี้แล้วยังมี
คือความเสี่ยงที่น�้ามันจะขึ้นฝั่งกระทบการท่องเที่ยง กระทบ อีกหลากหลายเทคนิคทางเลือก ไม่ว่าจะเป็นการใช้เทคนิคสนาม
ประชาชนที่อยู่บนฝั่ง กระทบความรู้สึกถึงความรุนแรงของ แม่เหล็ก เทคนิคไฟฟ้า คลื่นเสียง อัลตราซาวด์ หรือโซน่า [7] บทความ
สถานการณ์ ซึ่งมีเหตุผลพอจะให้ผู้ก่อให้เกิดมลพิษ/ผู้เผชิญเหตุ วิจัยโดย Ho และคณะ ในปี 2019 ท�าการทบทวนวรรณกรรมการ
สามารถเลือกใช้ Dispersant ได้ แต่ควรต้องมีมาตรการติดตาม ใช้ระบบเซ็นเซอร์ตรวจการช�ารุดรั่วไหลของท่อล�าเลียงน�้ามันใต้ดิน
ความเสี่ยง ลดความเสี่ยง และชดเชยความเสี่ยงแก่ผู้ได้ต้องรับ ไว้อย่างละเอียดครบถ้วน ท่านผู้สนใจสามารถหาอ่านได้เพิ่มเติมตาม
ผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวด้วย ซึ่งก็คือชาวประมง และ เอกสารอ้างอิงครับ
ระบบนิเวศนั่นเอง ควรต้องมีการวางแผนฟื้นฟูสัตว์น�้าในระบบ นอกจากประเด็นทางเทคนิคแล้ว ในภาพรวมเชิงระบบและ
นิเวศทางทะเลที่อาจได้รับผลกระทบ และวางแผนฟื้นฟูอาชีพ นโยบาย ผู้เขียนเห็นว่ากฎหมายไทยยังไม่ทันสมัยและไม่ครบถ้วน
ที่มาของภาพ : https://www.greenpeace.org/thailand/story/22753/sprc-oil-spill-accountability-of-fossil-fuel/
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 69