Page 65 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 65
โปรโตคอลสื่อสารส�าหรับการประยุกต์ใช้ไอโอทีในสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า
ข้อดีของการมีโปรโตคอลนี้คือ เจ้าของ
สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถเลือกใช้
บริการพลังงานได้หลากหลายมากขึ้น คือ
สามารถเลือกหรือเปลี่ยนทั้งฮาร์ดแวร์และ
พลังงานที่รับ โดยไม่ต้องยึดติดกับบริษัท
ใดบริษัทหนึ่ง โดยบริษัทที่พัฒนาฮาร์ดแวร์
และ/หรือ บริษัทที่พัฒนากระบวนการส่ง
พลังงานไฟฟ้า สามารถพัฒนาสินค้าของ
ตนเองต่อไป บนพื้นฐานในการให้บริการใน
ลักษณะเดียวกัน ที่ก�าหนดตามโปรโตคอล
OCPP นี้
การมีโปรโตคอลท�าให้เราสามารถขยาย
เครือข่ายของระบบสถานีชาร์จได้ง่ายขึ้นมาก
โดยการประยุกต์ใช้แนวคิดของเครือข่าย
สื่อสารที่มีอยู่เดิม ท�าให้เราสามารถพัฒนา ในการรับรองโดย OCPP อุปกรณ์ที่น�า ที่บริษัทที่สร้างสถานีชาร์จก�าหนดโดยทาง
ระบบได้ง่าย ประหยัดและรวดเร็วยิ่งขึ้นด้วย มาทดสอบจะต้องทดสอบสองประเภทคือ กระทรวงพลังงาน (U.S. Department of
ปัจจุบันกลุ่มบริษัทที่ใช้ OCPP ที่เรียกว่า Energy) ได้พยายามท�าให้ระบบสื่อสารของ
Open Charge Alliance (OCA) ได้มีการ 1. การทดสอบการเข้ากันได้ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าต่าง ๆ สามารถ
ก�าหนดกระบวนการให้ใบรับรอง ที่เรียกว่า (Conformance tests) ซึ่งอุปกรณ์ที่ เชื่อมต่อกันได้ โดยมองระบบนี้ร่วมไปกับ
OCPP certification program ซึ่งผู้ผลิต น�ามาทดสอบจะต้องเชื่อมต่อกับ วงจร เทคโนโลยีสมาร์ทกริด
สถานีชาร์จและผู้ให้บริการพลังงานไฟฟ้า จ�าลองที่ชื่อ OCPP 1.6 Simulator
ในการชาร์จจะต้องได้รับการรับรองนี้ก่อน และผ่านการทดสอบที่ก�าหนดในวงจร
จึงจะสามารถด�าเนินการได้ จ�าลองนั้น แหล่งข้อมูล
ปัจจุบัน การทดสอบและรับรอง ท�าได้ 2. การวัดสมรรถนะ (Performance [1] https://en.wikipedia.org/
อย่างเต็มรูปแบบ ส�าหรับ OCPP เวอร์ชัน Measurements) เป็นการวัดค่า wiki/Open_Charge_Point_Protocol
1.6 เท่านั้น โดยนักพัฒนาของ OCA ยังคง สมรรถนะต่าง ๆ ของอุปกรณ์ที่น�ามา [2] https://www.openchargealli-
ปรับปรุงการทดสอบและรับรอง OCPP ทดสอบ ภายใต้สภาวะที่ห้องปฏิบัติการ ance.org/
เวอร์ชัน 2.0 อยู่ และ การทดสอบจริงจะ ก�าหนด
กระท�าในห้องปฏิบัติการที่ทาง OCA เลือก
คือ DNV-GL, KSGA และ Dekra ส�าหรับในประเทศอเมริกา ไม่ได้มีการ
บังคับโปรโตคอล OCPP ที่กล่าวมา ส�าหรับ
สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ท�าให้
โปรโตคอลการสื่อสารส�าหรับ
สถานีชาร์จจะเป็นแบบปิด
และถูกพัฒนาตามแต่
ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 วิศวกรรมสาร 65