Page 66 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 66
Nerdy สีเขียว ผศ.ดร.ธนพล เพ็็ญรััตน์
เนิิร์ดดี้้
ตอนที่ 6 ค�าถามคาใจ
น�้ามันรั่ว
ทะเลไทย
กลับมาพบกันอีกครั้ง หลังผู้เขียนเองห่างหายจากคอลัมน์ เนิร์ดดี้ สีเขียว Green Nerdy ไป 2 ฉบับ ด้วยใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการ
ลงพื้นที่เก็บตัวอย่างน�้าเสียโสโครกจาก 6 จังหวัดคือนครสวรรค์ พิษณุโลก ตาก (อ.แม่สอด) ล�าปาง เชียงใหม่ และยะลา เพื่อตรวจหา
ซากเชื้อ SARS-CoV-2 และใช้ซากเชื้อเป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพในการเตือนภัยการระบาดล่วงหน้าของโควิด-19 ในระดับชุมชนหรือ
ในสถานที่สาธารณะ เช่น ตลาด โรงเรียน เรือนจ�า สนามบิน ตามแนวคิดที่เสนอในคอลัมน์ เนิร์ดดี้ สีเขียว Green Nerdy ตอนที่ 2 และ 3
แรกเริ่มก็แค่คิดว่าควรมีใครสักคนต้องท�าเพื่อให้บ้านเราจัดการโควิดได้ดีขึ้น รู้ตัวอีกทีก็ต้องมาท�าเองแล้ว ตอนนี้รวม ๆ ก็ตรวจไปกว่า
800 ตัวอย่างแล้วครับ ไว้จะมาเล่าให้ฟังในตอนต่อ ๆ ไปว่าเทคนิคนี้ใช้จริงแล้วมีข้อดี-ข้อจ�ากัดอะไรบ้าง และคณะวิจัยของเราท�างาน
ร่วมกับท้องถิ่นเพื่อเตือนภัยล่วงหน้าและลดการระบาดของโรคได้อย่างไรบ้าง
ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมานี้ จริงๆ ความกังวลในประเด็นสิ่งแวดล้อมจากอุบัติเหตุนี้ก็ดูจะหายไปอย่างรวดเร็ว แม้ว่าจริง ๆ
แล้วมีหลายประเด็นสิ่งแวดล้อมที่น่าสนใจ แล้ว จนกระทั่งวันนี้ วันที่ 15 มีนาคม 2565 ผ่านไปแล้วกว่า 50 วันหลังจากเกิดเหตุ
ไม่ว่าจะเป็นกรณีนิคมอุตสาหกรรมจะนะ คณะท�างานของบริษัทยังคงพยายามซ่อมแซมเพื่อหยุดการรั่วไหลของน�้ามันจากท่อ
จังหวัดสงขลา หรือกรณีโรงไฟฟ้าชีวมวล รายงานจากผู้สื่อข่าวที่เกาะติดประเด็นนี้กล่าวว่า เช้านี้คณะท�างานสามารถอุดรอยรั่ว
ที่อ�าเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช บริเวณท่ออ่อนด้านบนได้ส�าเร็จแล้ว แต่รอยรั่วด้านล่างยังไม่ส�าเร็จ ผู้เขียนเชื่อว่าผู้อ่าน
แต่ประเด็นที่ได้รับการสอบถามมาเยอะพอ หลายท่านอาจจะไม่ทราบถึงความคืบหน้านี้ และคิดว่าเหตุน�้ามันรั่วนี้จบไปนานกว่า
สมควรจากเพื่อน ๆ ใน Social Media คือ 1 เดือนแล้ว เพราะไม่มีการน�าเสนอข่าวในสื่อสารมวลชนช่องทางหลักเหมือนกับช่วงที่
ประเด็นน�้ามันดิบรั่วไหลลงทะเล จังหวัด เหตุการณ์เกิดแรก ๆ
ระยอง ซึ่งเป็นประเด็นใหญ่ระดับประเทศ Green Nerdy ขอใช้ตอนที่ 6 นี้ในการใช้ข้อมูลตอบค�าถามคาใจของใครหลายสัก
ทันทีที่คราบน�้ามันปรากฏและเคลื่อนที่ 3 ค�าถาม โดยหวังว่าข้อมูลจะชี้ให้เห็นสิ่งที่อาจจะยังขาดไปในทางวิศวกรรม การจัดการ
อยู่บนผิวทะเลระยอง แต่หลังจากก�าจัด และ กฎหมายของประเทศไทยเพื่อป้องกันปัญหาและลดผลกระทบจากน�้ามันรั่วต่อระบบ
คราบน�้ามันออกไปได้แล้ว ความสนใจและ นิเวศให้ได้มากที่สุดนะครับ
66 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565