Page 70 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มาราคม - มีนาคม 2565
P. 70
ตอนที่ 6 ค�าถามคาใจ น�้ามันรั่ว ทะเลไทย
ยังคงไม่มีกฎหมายในการป้องกันและแก้ไขฟื้นฟูผลกระทบที่เกิดจาก จริง ๆ ภาคเอกชนเองควรน�าเทคโนโลยีนวัตกรรมเซ็นเซอร์เพื่อ
น�้ามันรั่วโดยตรง ในขณะที่นานาประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตรวจสภาพท่อ และแจ้งเตือนล่วงหน้าเพื่อท�าการซ่อมบ�ารุง
มีกฎหมายป้องกันและแก้ไขผลกระทบจากน�้ามันรั่วโดยตรง เช่น เชิงป้องกัน ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ควรออกกฎหมายป้องกันและ
กฎหมาย Oil Pollution Act (ปี 1990) ซึ่งมีมาตรการครอบคลุม แก้ไขผลกระทบจากน�้ามันรั่วโดยตรงเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการ
การป้องกัน การเผชิญเหตุ และการฟื้นฟูเยียวยา ด�าเนินการแก้ไขสถานการณ์ในทุกขั้นตอน และเกิดความรับผิดชอบ
ฉะนั้นหากประเทศไทยต้องการจะลดการเกิดการรั่วไหลของ กับประชาชนผู้ได้รับผลกระทบโดยไม่ต้องจบด้วยการฟ้องร้อง
น�้ามันลงทะเล และลดผลกระทบต่อประชาชนในอีก 10 ปีข้างหน้า กับเหมือนในปัจจุบัน
รูปที่ 3 การใช้ Dispersant ก�าจัดคราบน�้ามันลอยบริเวณผิวน�้า [4]
รูปที่ 4 การสะสมสารพิษสู่ห่วงโซ่อาหารในทะเลจากหยดน�้ามันขนาดเล็กที่แขวนลอยในทะเล
อันเนื่องมาจากการใช้ Dispersant [6]
70 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565