Page 87 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 87

ผลการดำาเนินงาน

                               กลุ่ม                             อัตรา   วงเงิน เป้าหมาย จำานวน  จำานวนเงินสินเชื่อ
                   สินเชื่อ  เป้าหมาย    วัตถุประสงค์   วงเงินกู้  ดอกเบี้ย  โครงการ (ล้านบาท)  ราย  ที่มีการปล่อย
                                                                        (ล้านบาท)                   (ล้านบาท)

              3. สินเชื่อเพื่อ  สำาหรับ   เพื่อเพิ่มสภาพ  สูงสุด  ดอกเบี้ย  5,000  5,000  45,048   2,160.00
                เป็นค่าใช้จ่าย ผู้ที่มีรายได้  คล่องชั่วคราว  ไม่เกิน   คงที่
                สำาหรับ    ประจำา ที่มี   ในการดำารงชีวิต   50,000  ร้อยละ
                ผู้มีรายได้  รายได้ลดลง  เนื่องจากได้รับ   บาท/ราย  0.35
                ประจำาที่ได้รับ  หรือขาดรายได้ ผลกระทบจาก       ต่อเดือน
                ผลกระทบจาก เนื่องจากได้รับ ไวรัสโคโรนา
                ไวรัสโคโรนา  ผลกระทบจาก (COVID-19) หรือ
                (COVID-19) ไวรัสโคโรนา  มีความจำาเป็นต้อง
                           (COVID-19) ใช้จ่ายฉุกเฉินใน
                                        ช่วงเวลาที่รายได้
                                        ลดลง และเพื่อให้
              4. สินเชื่อเพื่อ  สำาหรับผู้ที่มี  มีเงินเพียงพอใน  10,000  ดอกเบี้ย 20,000 20,000  1,732,846 17,328.46
                เป็นค่าใช้จ่าย อาชีพอิสระ   การดำารงชีพโดยไม่  บาท/ราย  คงที่
                สำาหรับ    แต่มีรายได้  จำาเป็นต้องผิดนัด        ร้อยละ
                ผู้มีอาชีพ  ลดลงหรือ    ชำาระหนี้/พึ่งพาสิน      0.10
                อิสระที่ได้รับ ขาดรายได้  เชื่อนอกระบบ หรือ     ต่อเดือน
                ผลกระทบจาก เนื่องจากได้รับ   สินเชื่อที่มีอัตรา
                ไวรัสโคโรนา  ผลกระทบจาก  ดอกเบี้ยสูง
                (COVID-19) ไวรัสโคโรนา
                           (COVID-19)




                 2. แนวทางการดำาเนินงานทางด้านการพัฒนาลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้น้อย

                ตามที่กระทรวงการคลัง มี/มอบนโยบายให้ธนาคารออมสินช่วยเหลือประชาชนผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐที่เป็นหนี้นอกระบบ
              ให้สามารถแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ และใช้บริการทางการเงินในระบบได้ และรัฐบาลมีนโยบายพัฒนาให้ยกระดับรายได้ของ
              ผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐให้หลุดพ้นจากความยากจน โดยธนาคารได้จัดทำาแผนงานให้มีความสอดคล้องกับภารกิจของธนาคาร
              ในการเป็นผู้นำาส่งเสริมการออมเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน เสริมสร้างความสุข และอนาคตที่มั่นคงของประชาชนระดับ
              ฐานราก ดังนี้



                  2.1  โครงการให้ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy: FL)
                    ธนาคารสนับสนุนมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยการให้ความรู้
                  ทางการเงิน เพื่อเพิ่มรายได้ และสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบ แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
                  ที่ประสงค์พัฒนาตนเองโดยเลือกโครงการให้ความรู้ทางการเงิน (FL)  ซึ่งเป็นกระบวนการ
                  ให้ความรู้  โดยจัดทำาสื่อวีดิทัศน์  และสื่อเอกสารสำาหรับใช้ในการอบรมตามจำานวนของ   มีผู้เข้าอบรมและ
                  กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ของสาขา  โดยมีรายละเอียดเนื้อหา  แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงใน   มีการพัฒนา
                  ชีวิตประจำาวันการมีวินัยทางการเงิน การเป็นหนี้อย่างมีความสุข การไม่พึ่งพาหนี้นอกระบบ    ความรู้ที่ดีขึ้น
                  มีการสอนให้ผู้เข้าอบรมทำาบัญชีรับ-จ่าย ครัวเรือน และการสร้างวินัยทางการเงิน ตามหลักปรัชญา   67,081
                  เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีผู้เข้าอบรม จำานวน 69,890 ราย มีการพัฒนาความรู้ที่ดีขึ้น 67,081 ราย    ราย
                  คิดเป็นร้อยละ 96








                                                                        รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563  83
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92