Page 146 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 146

ด้านขวาเป็นพระศิวะประทับนั่งลลิตาสนะ พระหัตถ์ซ้ายถือลูกปะค า ด้านข้างมีพระวิษณุ 4 กร
                       ประทับยืนตริภังค์ พระหัตถ์หน้าทั้งสองอยู่ในท่าถวายความเคารพ พระหัตถ์ขวาหลังถือจักรและ
                       พระหัตถ์ซ้ายหลังถือสังข์ ถัดไปมีรูปบุคคลขนาดเล็กในท่าหมอบกราบ และริมสุดของภาพมี

                       เทวดาเหาะ 2 ตน (ภาพที่ 106)




































                                          ภาพที่ 106 ภาพสลักที่ผนังถ ้าพระโพธิสัตว์ จังหวัดสระบุรี


                              ในด้านประติมานวิทยาซึ่งมีพระพุทธเจ้าแสดงธรรมโปรดพระศิวะและพระวิษณุ
                                                                                           69
                       พร้อมกันนั้น ยังไม่สามารถทราบได้อย่างแน่ชัดในขณะนี้ว่ามาจากคัมภีร์ใด  แต่คงมีความ
                       เกี่ยวข้องกับคติความเชื่อของพุทธศาสนามหายาน ซึ่งนิยมแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนามีอ านาจ
                                                     70
                       ยิ่งใหญ่เหนือกว่าศาสนาพราหมณ์  ส่วนแบบศิลปะของภาพสลักที่ถ ้าพระโพธิสัตว์นั้นจัดเป็น
                       ศิลปะทวารวดี  องค์พระพุทธรูปได้แสดงให้เห็นความคล้ายคลึงกับศิลปะอินเดียภาคใต้แบบ
                                   71
                       อมราวดีที่เมืองนาคารชุนโกณฑะ (ราวกลางพุทธศตวรรษที่ 10) ทั้งในด้านของท่าประทับนั่ง

                       ห้อยพระบาทและการแสดงมุทรา  ลักษณะของบัลลังก์ที่ทรงประทับซึ่งมีมกรประดับอยู่ด้านข้าง
                                                   72
                       ก็พบได้ในศิลปะอินเดียแบบอมราวดีด้วย  แต่พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาทลักษณะ
                                                            73
                       เช่นนี้ก็นิยมท ากันต่อมาในศิลปะคุปตะ-หลังคุปตะ จนกระทั่งศิลปะสมัยปาละ ดังนั้นภาพสลักที่
                       ถ ้าพระโพธิสัตว์คงมีการผสมผสานทั้งในด้านคติความเชื่อและแบบศิลปะจากหลากหลายแหล่ง

                       ของอินเดียด้วย






                                                               140
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151