Page 145 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 145

ไม่ห่างจากเมืองเสมายังเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านหินตั้งซึ่งมีหลักหินหลายหลักกระจายอยู่ใน
                                                                   66
                       หมู่บ้าน และยังมีปราสาทเขมรอีกจ านวน 3 หลัง  ได้แก่ ปราสาทโนนกู่ (ภาพที่ 105) และ
                       ปราสาทเมืองแขก ซึ่งสร้างขึ้นในช่วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 15 รวมทั้งปราสาทเมืองเก่า

                       ซึ่งเป็นศาสนสถานประจ าโรงพยาบาล (อโรคยศาล) สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ช่วงพุทธศตวรรษ

                       ที่ 18 ดังนั้นบริเวณเมืองเสมาจึงเป็นเมืองส าคัญเมืองหนึ่งในภาคอีสานตอนล่างหรือ
                       แอ่งโคราชที่ปรากฏทั้งวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร

















                                         ภาพที่ 105 ปราสาทโนนกู่ อ าเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา



                       4.3  ถ ้าศาสนสถานสมัยทวารวดี

                              ถ ้าศาสนสถานโดยทั่วไปมักอยู่ห่างไกลออกไปจากชุมชนหลักหรือตัวเมืองโบราณ
                       คือใช้เป็นที่พ านักของภิกษุที่อาศัยอยู่นอกเขตเมืองนั่นเอง โดยถ ้าศาสนสถานสมัยทวารวดี

                                                                                       67
                       จะไม่มีการดัดแปลงโครงสร้างของถ ้าหรือขุดขึ้นตามแบบอินเดีย  แต่เป็นเพียงการ
                       แกะสลักหรือปั้นปูนเป็นภาพทางพุทธศาสนาลงไปบนผนังถ ้าหินปูนธรรมชาติ ได้แก่
                       ถ ้าพระโพธิสัตว์ จังหวัดสระบุรี ถ ้าเขาถมอรัตน์ จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มถ ้าแถบเทือกเขางู

                       จังหวัดราชบุรี ถ ้ายายจูงหลาน จังหวัดเพชรบุรี รวมทั้งภาพสลักพระพุทธรูปในอิริยาบถนอน
                       ตามเพิงผาหินทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ภูพระ จังหวัดชัยภูมิ ภูเวียง จังหวัด

                       ขอนแก่น ภูปอ จังหวัดกาฬสินธุ์


                                                                                 68
                              4.3.1  ถ ้าพระโพธิสัตว์ อ าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
                              บนผนังหินปูนของถ ้าพระโพธิสัตว์มีการแกะสลักภาพเล่าเรื่องทางพุทธศาสนา โดยมี

                       พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาทแสดงวิตรรกมุทรา (ปางแสดงธรรม) เป็นประธาน ถัดไปทาง





                                                               139
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150