Page 29 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 29

45  ช็อง บัวเซอลีเยร์, “เมืองอู่ทองและความส าคัญของเมืองอู่ทองในประวัติศาสตร์ไทย,” ใน โบราณ
                       วิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง, แปลโดย อุไรศรี วรศะริน (พระนคร: กรมศิลปากร, 2509. พิมพ์ในงานเสด็จพระราช

                       ด าเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง 13 พ.ค. 2509), 3 – 10.
                              46  ช็อง บัวเซอลีเยร์, “ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับสถานที่ตั้งของอาณาจักรฟูนัน,” ใน โบราณวิทยาเรื่องเมือง
                       อู่ทอง, เก็บความเรียงเรียงโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล, 11 - 20.
                              47  ดูผลการศึกษาในลักษณะของบทความวิชาการได้ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติฝรั่งเศส-
                       ไทย ครั้งที่ 3 “พัฒนาการของรัฐในประเทศไทยจากหลักฐานทางโบราณคดี (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
                       , 2538).

                              48  Piriya  Krairiksh,  “The  Chula  Pathon  Cedi:  Architecture  and  Sculpture  of  Dvaravati,”
                       (A Thesis (Degree of Doctoral of Philosophy in Art History) - Harvard University, 1975).
                              49  พิริยะ ไกรฤกษ์, ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแบบศิลปะในประเทศไทย คัดเลือกจากพิพิธภัณฑสถาน
                       แห่งชาติ สาขาส่วนภูมิภาค (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2520).

                              50  ต่อมา ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ เสนอให้ใช้ค าว่า “ศิลปะทักษิณก่อนพุทธศตวรรษที่ 19” แทน ดูใน
                       ศิลปทักษิณก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2523. กรมศิลปากรจัดพิมพ์เนื่องในโอกาส
                       วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2523).
                                                                                      nd
                              51  Reginald Le May, A Concise History of Buddhism Art in Siam, 2  edition (Rutland, Vt.:
                       C.E.Tuttle, 1963), 15.
                              52  ดูบทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้ได้ใน เมืองโบราณ 4, 3 (เมษายน - มิถุนายน 2521).

                              53  พิริยะ ไกรฤกษ์, อารยธรรมไทย: พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
                       แอนด์พับลิซซิ่ง, 2544).
                              54  พิริยะ ไกรฤกษ์, รากเหง้าแห่งศิลปะไทย (กรุงเทพฯ: ริเวอร์บุ๊คส์, 2553).
                              55  เรื่องเดียวกัน, 30 - 31.
                              56  เรื่องเดียวกัน, 88 – 91.

                              57  พิริยะ ไกรฤกษ์, ศิลปะสุโขทัยและอยุธยา ภาพลักษณ์ที่ต้องเปลี่ยนแปลง (กรุงเทพฯ: อมรินทร์
                       พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง, 2545).
                              58  ตัวอย่างงานในระยะแรกๆ ดูใน กุลพันธาดา จันทร์โพธิ์ศรี, “ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของ
                       ประติมากรรมส าริดจากบ้านฝ้าย ต าบลไทยสามัคคี อ าเภอล าปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์” ศิลปากร 36, 4
                       (กรกฎาคม – สิงหาคม 2536): 53 – 62. ส่วนงานที่น่าสนใจเมื่อไม่นานมานี้เป็นของ ดร.ผุสดี รอดเจริญ
                       ที่ศึกษาลูกปัดแก้วด้วยวิธี Electron Probe Micro-Analysis หรือ EPMA ดูใน ผุสดี รอดเจริญ, “การวิเคราะห์

                       ลูกปัดแก้วจากเมืองโบราณสมัยทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย,” วารสาร Veridian E-Journal 7, 3
                       (กันยายน - ธันวาคม 2557): 571 – 581 ; “แก้วอลูมิน่า กลุ่มแก้วส าคัญที่พบมากในลูกปัดแก้วสมัยทวารวดี
                       ในภาคกลางของประเทศไทย,” ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการความก้าวหน้าทางวิชาการโบราณคดี
                       และการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชาติ (กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
                       มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557), 123 – 144.

                              59  งานที่น่าสนใจเล่มล่าสุดเกี่ยวกับโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ดู Nicolas Revire
                       and Stephen A. Murphey, eds., Before Siam: Essays in Art and Archaeology (Bangkok: River Books
                       and The Siam Society, 2014).




                                                               23
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34