Page 64 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 64

เชิงอรรถบทที่ 2

                              1  ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี (กรุงเทพฯ:
                       โรงพิมพ์อักษรสมัย, 2542), 52 – 56.
                              2  ดู เมธินี จิระวัฒนา, กลองมโหระทึกในประเทศไทย (กรุงเทพฯ: ส านักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
                       กรมศิลปากร, 2546).
                              3  ชิน อยู่ดี, “คนก่อนประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ออกทะเล,” โบราณคดี 6, 4 (มิถุนายน 2519): 27
                       – 30. เมื่อไม่นานมานี้มีการศึกษาด้วยเทคนิคทางวิทยาศาสตร์พบว่า วัตถุดิบของเครื่องประดับเหล่านี้คือ

                       หินตระกูลหยกเนฟไฟรท์ (Nephrite) มีแหล่งวัตถุดิบอยู่ทางตะวันออกของประเทศไต้หวัน โดยในช่วง
                       ต้นพุทธกาลถึงพุทธศตวรรษที่ 6 มีการส่งวัตถุดิบจากไต้หวันไปยังผลิตยังภูมิภาคต่างๆ ในเอเชียตะวันออก
                       เฉียงใต้ ดูใน Hsiao-chun Hung and Peter Bellwood, “Movement of Raw Materials and Manufactured
                       Goods Across the South China Sea After 200 BCE: from Taiwan to Thailand, and back,” in 50 Years
                       of Southeast Asia Essays in Honour of Ian Glover, eds. Bérénice Bellina and others (Bangkok: River

                       Books, 2010), 236 – 238.
                              4  สุรพล นาถะพินธุ, “การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในภาคกลาง
                       ของประเทศไทย,” ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติฝรั่งเศส-ไทย ครั้งที่ 3 “พัฒนาการของรัฐในประเทศ
                       ไทยจากหลักฐานทางโบราณคดี (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2538), 189 – 191.
                              5  หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000, พิมพ์ครั้งที่ 4
                       (กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี,

                       2549), 5 - 6.
                              6  เรื่องเดียวกัน, 7. แนวคิดของศาสตราจารย์เซเดส์มักได้รับการกล่าวอ้างอย่างผิดๆ ว่าท่านให้
                       ความส าคัญมากเกินไปกับบทบาทของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมอินเดีย โดยไม่ให้น ้าหนักกับบทบาทของ
                       ชนพื้นเมืองหรือการผสมผสานกับท้องถิ่น (localization) แต่จากข้อความข้างต้นท าให้เห็นได้ชัดเจนว่า
                       ศาสตราจารย์เซเดส์ให้ความส าคัญกับทั้ง 2 กรณีเท่าเทียมกัน เพียงแต่วัฒนธรรมอินเดียนั้นได้เข้ามา

                       เปลี่ยนแปลงสภาพสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนดั้งเดิมไปจนเป็นแบบอินเดียนั่นเอง
                              7  ผาสุข อินทราวุธ, ทวารวดี การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, 20.
                              8  เรื่องเดียวกัน, 41 – 65.
                              9  เรื่องเดียวกัน, 94.
                              10  เรื่องเดียวกัน.

                              11  Bérénice Bellina and Ian Glover, “The Archaeology of Early Contact with India and the
                       Mediterranean World, from the Fourth Century BC to the Fourth Century AD,” in Southeast Asia from
                       prehistory ot history, edited by Ian Glover and Peter Bellwood (London: RoutledgeCurzon, 2004), 68
                       – 88.
                              12  William Watson and Helmut H.E. Loofs, “The Thai-British Archaeological Expedition A

                       Preliminary Report on the Work of the First Season 1965 – 1966,” Journal of the Siam Society 55,2
                       (1967): 239 – 248.
                              13  Ibid., 247.
                              14  Ibid., 245 – 247.




                                                               58
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69