Page 68 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 68

62  หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล, ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000, 16 ; Malleret,
                       L’archéologie du delta du Mékong: Tome III, 294, 304, PL.LXVI, LXXIII.

                              63  มยุรี วีระประเสริฐ, “คลอมท่อม แหล่งอุตสาหกรรมท าลูกปัด และเมืองท่าขนถ่ายสินค้าสมัยโบราณ
                       ,” ใน ปัจจุบันของโบราณคดีไทย (กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528), 46.
                              64  Jacq-Hergoualc’h, The Malay Peninsula: Crossroad of the Maritime Silk Road (100 BC –
                       1300 AD), 191.
                              65  มยุรี วีระประเสริฐ, “คลอมท่อม แหล่งอุตสาหกรรมท าลูกปัด และเมืองท่าขนถ่ายสินค้าสมัยโบราณ
                       ,” ใน ปัจจุบันของโบราณคดีไทย, 47 ; บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ และเรไร นัยวัฒน์, ทุ่งตึก: เมืองท่าการค้า

                       โบราณ, 160 – 164 ; Woodward, The Art and Architecture in Thailand from Prehistoric Times through
                       the Thirteenth Century, 29.
                              66  Wheatley,  The  Golden  Khersonese,  265  ;  Jacq-Hergoualc’h,  The  Malay  Peninsula:
                       Crossroad of the Maritime Silk Road (100 BC – 1300 AD), 104, chapter7 ; Wade, “Beyond the Southern

                       Borders: Southeast Asia in Chinese Texts to the Ninth Century,” in Lost Kingdom: Hindu-Buddhist
                       Sculpture of Early Southeast Asia, 28 – 29 ; อมรา ศรีสุชาติ, ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป, 93.
                              67  Wade, “Beyond the Southern Borders: Southeast Asia in Chinese Texts to the Ninth
                       Century,” in Lost Kingdom: Hindu-Buddhist Sculpture of Early Southeast Asia, 29.
                              68  Wheatley, The Golden Khersonese, 253.
                              69  Ibid., 15, 116 ; ขุนศิริวัฒนอาณาทร, เมืองทองหรือสุวรรณภูมิ (มปป, 2514. พิมพ์เป็นบรรณาการ

                       ในงานพระราชทานเพลิงศพ ขุนศิริวัฒนอาณาทร (ผล ศิริวัฒนกุล) ณ เมรุวัดเทพสิรินทราวาส วันเสาร์ที่ 31
                       กรกฎาคม 2514), 51.
                              70  Wheatley, The Golden Khersonese, 116 – 117. ขุนศิริวัฒนอาณาทร แปลข้อความนี้ว่า
                       “แว่นแคว้นกิมหลินนั้น เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ากิมตั๋ง หนทางไกลจากฟูหน ากว่า 2,000 ลี้ แว่นแคว้นนี้มีแร่เงิน
                       พลเมืองมากและชอบจับช้าง เมื่อจับได้เป็นๆ ก็ใช้เป็นพาหนะ ครั้นช้างตายก็ถอดเอางา” ดูใน ขุนศิริวัฒน

                       อาณาทร, เมืองทองหรือสุวรรณภูมิ, 51 – 52. ขณะที่ ธนิต อยู่โพธิ์ แปลข้อความนี้ว่า “เลยฟูนาน (ไปทาง
                       ตะวันตก) 2,000 ลี้ หรือกว่า เป็นประเทศจินหลิน ซึ่งมีบ่อเงิน ประเทศนั้นมีประชาชนหนาแน่นเป็นอันดี
                       ชาวเมืองชอบจับช้างใหญ่ๆ จับมาทั้งเป็นๆ เมื่อช้างเหล่านั้นตายลง เขาจะถอดเอางามัน” ดูใน ธนิต อยู่โพธิ์,
                       “สุวัณณภูมิ,” ใน สุวรรณภูมิอยู่ที่นี่ ที่แผ่นดินสยาม, สุจิตต์ วงษ์เทศ บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: มติชน, 2545),
                       61.
                              71  Wheatley, The Golden Khersonese, 117.

                              72  Briggs, The Ancient Khmer Empire, 19.
                              73  Quaritch Wales, Dvaravati: The Earliest Kingdom of Siam (6  to 11  century A.D.) (London:
                                                                                      th
                                                                                th
                       Bernard Quaritch, LTD., 1969), 5, 20.
                              74  Ibid., 6 – 7.
                              75  Ibid., 349.

                              76  ช็อง บัวเซอลีเยร์, “ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับสถานที่ตั้งของอาณาจักรฟูนัน,” ใน โบราณวิทยาเรื่องเมือง
                       อู่ทอง, เก็บความเรียงเรียงโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (พระนคร: กรมศิลปากร, 2509. พิมพ์ในงานเสด็จ
                       พระราชด าเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง 13 พ.ค. 2509), 11 – 20.




                                                               62
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73