Page 73 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 73

ส ำหรับค ำว่ำ “มคธรำฐ” นั้นหมำยถึงประเทศอินเดียในสมัยโบรำณ สมเด็จฯ กรมพระยำ
                       ด ำรงรำชำนุภำพทรงสันนิษฐำนว่ำ เดิมทีพุทธศำสนำลัทธิหีนยำนหรือเถรวำทในสมัยพระเจ้ำ
                       อโศกมหำรำชแห่งรำชวงศ์โมริยะของอินเดีย ได้มำประดิษฐำนที่เมืองนครปฐมเป็นแห่งแรก

                       พระปฐมเจดีย์และศิลำธรรมจักรคือหลักฐำนที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบและคติอันเก่ำแก่ย้อนไปถึง

                                         20
                       ในสมัยพระเจ้ำอโศก  จึงเป็นกำรตอกย ้ำข้อสันนิษฐำนของพระองค์ที่มีมำตั้งแต่ พ.ศ. 2459
                       ที่ว่ำ ดินแดน “สุวรรณภูมิ” ซึ่งเอกสำรโบรำณกล่ำวว่ำพระเจ้ำอโศกมหำรำชส่งสมณทูตมำเผยแผ่
                                                                         21
                       พระศำสนำในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 ตั้งอยู่ในสยำมประเทศ
                              ศำสตรำจำรย์เซเดส์ยังคงท ำงำนอย่ำงต่อเนื่อง ผลจำกกำรค้นคว้ำด้ำนจำรึกในปี พ.ศ.

                       2472 น ำไปสู่ข้อเสนอเรื่อง “กรุงทวำรวดี” ว่ำมีเมืองส ำคัญได้แก่ เมืองลพบุรี กรุงศรีอยุธยำ
                       รำชบุรี และนครปฐม อันเป็นสถำนที่ค้นพบพระพุทธรูปที่มีแบบศิลปะคล้ำยกับพระพุทธรูป
                                                                            22
                       อินเดียสมัยคุปตะ จึงก ำหนดอำยุอยู่ในรำว พ.ศ. 1000 - 1200  (พุทธศตวรรษที่ 11 - 13) จำรึก
                       ที่พบส่วนใหญ่เป็นภำษำมอญโบรำณ (จำรึกจำกเมืองลพบุรี และจำรึกถ ้ำฤำษีเขำงู จังหวัด

                       รำชบุรี) ศำสตรำจำรย์เซเดส์จึงกล่ำวว่ำ “จ าเป็นที่จะต้องมีพวกมอญอาศัยอยู่ในลุ่มแม่น ้า
                                         23
                       เจ้าพระยานั้นแล้ว”

                              3.1.3  โบราณคดีมอญแห่งอาณาจักรทวารวดี

                              กำรศึกษำโบรำณคดีและประวัติศำสตร์ศิลปะทวำรวดีได้รับควำมสนใจอย่ำงจริงจัง
                       ภำยหลังจำกกำรตีพิมพ์หนังสือส ำคัญเรื่อง โบรำณคดีมอญแห่งอำณำจักรทวำรวดี

                       (L’archéologie mône de Dvaravati) แต่งโดยศำสตรำจำรย์ปิแอร์ ดูปองต์ (Pierre Dupont)
                       ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2502

                              ศำสตรำจำรย์ดูปองต์เดินทำงเข้ำมำส ำรวจในประเทศไทยโดยให้ควำมสนใจเป็นพิเศษ
                       กับเมืองนครปฐมและเมืองศรีมโหสถ จังหวัดปรำจีนบุรี แต่งำนของท่ำนเกือบทั้งหมดก็มีขึ้นที่

                       เมืองนครปฐมโบรำณ โดยท ำกำรขุดศึกษำโบรำณสถำนวัดพระเมรุและเจดีย์จุลประโทน
                       (ในขณะนั้นก ำหนดเรียกว่ำวัดพระประโทณ)

                              เดิมวัดพระเมรุมีสภำพเป็นเนินดินขนำดใหญ่ ภำยหลังจำกกำรขุดแต่งในระหว่ำงวันที่
                       25 มกรำคม – 21 พฤษภำคม พ.ศ. 2482 และเสร็จสิ้นลงในอีกปีถัดมำ (ภำพที่ 33) จึงได้พบกับ

                       อำคำรก่ออิฐมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อเก็จ (หรือยกเก็จ) มีขนำดกว้ำงยำวด้ำนละเกือบ 70
                       เมตร ลักษณะเด่นคือ มีแกนกลำงรองรับเครื่องบนที่เป็นสถูปเจดีย์ ตรงกลำงด้ำนของแกนกลำง

                       นี้มีฐำนส ำหรับประดิษฐำนพระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบำทขนำดใหญ่ 4 องค์ มีระเบียง
                       ทำงเดินโดยรอบแกนกลำงนี้ และมีซุ้มรำยรอบจ ำนวน 16 ซุ้ม ส่วนนอกสุดมีลักษณะเป็นมุขยื่น

                       ออกไป 8 มุขซึ่งมีอัฒจันทร์และบันไดน ำขึ้นสู่ภำยในอำคำร
                                                                         24








                                                               67
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78