Page 76 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 76

32
                       ผู้รุ่งเรือง”  ที่ส ำคัญคือ ก ำหนดอำยุจำกแบบอักษรปัลลวะของจำรึกบนเหรียญเงินนี้ก็อยู่ในช่วง
                                          33
                       รำวพุทธศตวรรษที่ 12  คือตรงกับห้วงเวลำที่พระถังซัมจั๋งบันทึกถึงโตโลโปตี
                              เหรียญเงินมีจำรึกข้ำงต้นนี้ตำมประวัติกล่ำวว่ำพบใน พ.ศ. 2486 และอยู่ในควำม
                       ครอบครองของนำยเฉลิม ยงบุญเกิด ต่อมำนำยเฉลิมได้น ำมำให้กับทำงสยำมสมำคม (Siam

                       Society) เป็นผู้ศึกษำเหรียญเงินดังกล่ำวบรรจุอยู่ในภำชนะดินเผำร่วมกับเหรียญตรำแบบอื่นๆ
                       เช่นเหรียญเงินรูปสังข์ แต่เหรียญเงินที่มีจำรึกมีเพียง 2 เหรียญ อีกด้ำนของเหรียญหนึ่งเป็นรูป

                       สัตว์ที่น่ำจะเป็นแม่วัว-ลูกวัว อีกเหรียญหนึ่งเป็นรูปหม้อน ้ำปูรณฆฏะ (หม้อน ้ำแห่งควำมอุดม
                                                                              34
                       สมบูรณ์) ทั้ง 2 เหรียญ มีขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 2 เซนติเมตร  (ภำพที่ 35)



























                                            ภำพที่ 35 เหรียญเงินมีจำรึก “ศรีทวำรวดีศวรปุณยะ”
                                                  พบที่เนินหินในเมืองนครปฐมโบรำณ

                           (ที่มำ : J.J.Boeles, “The King of Sri Dvaravati and his Regalia,” Journal of the Siam Society
                                                    LII,II (April 1964): photo I - II.)



                              ข้อมูลจำกกำรแปลจำรึกบนเหรียญเงินศรีทวำรวดีฯ ข้ำงต้นเคยน ำไปสู่กำรตั้งข้อ
                                                                                35
                       สันนิษฐำนที่ว่ำ นครปฐมเคยเป็นเมืองหลวงกษัตริย์แห่งทวำรวดี  แต่ต่อมำก็ได้มีกำรค้นพบ
                       เหรียญเงินมีจำรึกลักษณะเดียวกันตำมเมืองโบรำณร่วมสมัยอีกหลำยแห่ง ได้แก่ อู่ทอง จังหวัด

                                                                     37
                                                                                             38
                                36
                       สุพรรณบุรี  (ภำพที่ 36) บ้ำนคูเมือง จังหวัดสิงห์บุรี  เมืองคูบัว จังหวัดรำชบุรี  (ภำพที่ 37)
                                                                39
                       เมืองดงคอนและเมืองอู่ตะเภำ จังหวัดชัยนำท  ทั้งยังได้พบหลักฐำนทำงโบรำณคดีและงำน
                       ศิลปกรรมเป็นจ ำนวนมำกในประเทศไทยที่น่ำจะมีอำยุอยู่ในสมัยทวำรวดี ซึ่งท ำให้เรำทรำบถึง
                                                                  40
                       ลักษณะทำงวัฒนธรรมในสมัยนั้นได้มำกพอสมควร




                                                               70
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81