Page 78 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 78

3.2  ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชุมชนและบ้านเมืองโบราณสมัยทวารวดี
                              มีกำรค้นพบหลักฐำนทำงโบรำณคดีและงำนศิลปกรรมอันเป็นลักษณะของวัฒนธรรม

                       ทวำรวดีตำมชุมชนและเมืองโบรำณหลำยแห่งในประเทศไทย ชุมชนและเมืองโบรำณใน
                       วัฒนธรรมทวำรวดีส่วนใหญ่จะตั้งอยู่บริเวณที่รำบลุ่มแม่น ้ำสำยส ำคัญๆ (ภำพที่ 38) ได้แก่

                              1. ลุ่มน ้ำท่ำจีน–แม่กลอง ได้แก่ เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมืองคูบัว จังหวัดรำชบุรี
                                 เมืองนครปฐมโบรำณ เมืองก ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม ชุมชนพงตึก จังหวัด

                                 กำญจนบุรี
                              2. ลุ่มแม่น ้ำเจ้ำพระยำ ได้แก่ เมืองคูเมืองอินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เมืองอู่ตะเภำ จังหวัด

                                 ชัยนำท เมืองจันเสน เมืองบน (โคกไม้เดน) จังหวัดนครสวรรค์
                              3. ลุ่มแม่น ้ำลพบุรี–ป่ำสัก ได้แก่ เมืองขีดขิน จังหวัดสระบุรี เมืองลพบุรี เมืองซับจ ำปำ

                                 จังหวัดลพบุรี เมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
                              4. ลุ่มแม่น ้ำบำงปะกง ได้แก่ เมืองดงละคร จังหวัดนครนำยก เมืองศรีมโหสถ จังหวัด

                                 ปรำจีนบุรี เมืองพระรถ จังหวัดชลบุรี
                              5. ลุ่มแม่น ้ำมูล–ชี ได้แก่ เมืองเสมำ จังหวัดนครรำชสีมำ เมืองฝ้ำย จังหวัดบุรีรัมย์

                                 นครจ ำปำศรี จังหวัดมหำสำรคำม เมืองฟ้ำแดดสงยำง จังหวัดกำฬสินธุ์
                              6. ลุ่มแม่น ้ำปิง ได้แก่ เมืองไตรตรึงส์ จังหวัดก ำแพงเพชร เมืองหริภุญไชย จังหวัด

                                 ล ำพูน
                              ส ำหรับกำรตั้งถิ่นฐำนประเภทหลักในบริเวณที่รำบลุ่มแม่น ้ำนั้นย่อมท ำให้พื้นดินมีควำม

                       อุดมสมบูรณ์เหมำะสมต่อกำรท ำเกษตรกรรมโดยเฉพำะกำรท ำนำ แต่ตัวเมืองโบรำณเหล่ำนี้
                       ก็มักไม่อยู่ติดกับล ำน ้ำสำยใหญ่ เพรำะอำจเกิดน ้ำท่วมได้ ดังนั้นเมืองจึงตั้งอยู่ติดกับล ำน ้ำสำย

                       รองที่เชื่อมต่อไปยังล ำน ้ำสำยใหญ่เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อกำรติดต่อกับชุมชนอื่นๆ อย่ำงสะดวก
                       และล ำน ้ำหลักนั้นยังสำมำรถเชื่อมต่อไปออกยังทะเลได้ ด้วยเคยมีข้อสันนิษฐำนว่ำแนวชำยฝั่ง

                       ทะเลในช่วงสมัยทวำรวดีนั้นคงอยู่ลึกเข้ำไปในแผ่นดินปัจจุบัน
                              ตัวอย่ำงกำรศึกษำแนวชำยฝั่งทะเลโบรำณ เช่นงำนของ ทิวำ ศุภจรรยำ และผ่องศรี

                       วนำสิน นักภูมิศำสตร์และธรณีวิทยำ ซึ่งได้ท ำกำรค้นคว้ำโดยอำศัยกำรแปลควำมภำพถ่ำย
                       ดำวเทียมและภำพถ่ำยทำงอำกำศ ท ำให้ได้ข้อสันนิษฐำนว่ำที่ตั้งของเมืองโบรำณสมัยทวำรวดี

                       หลำยเมืองมีควำมสัมพันธ์กับแนวชำยฝั่งทะเลเดิมที่ระดับ 3.5 - 4 เมตรจำกระดับน ้ำทะเล
                       ปำนกลำง ลักษณะของอ่ำวไทยในอดีตคงเป็นอ่ำวลึกเข้ำไป พื้นที่ชำยฝั่งในสมัยทวำรวดี

                       ส่วนใหญ่คงเป็นที่ลุ่มต ่ำใกล้ระดับน ้ำทะเล และบำงบริเวณก็มีลักษณะเป็นหำดทรำย  (ภำพที่
                                                                                                 42
                       39)










                                                               72
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83