Page 81 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 81

ภำพที่ 40 แผนที่แสดงแนวชำยฝั่งทะเลช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 15 ตำมข้อสันนิษฐำนของตรงใจ หุตำงกูร
                                   (ที่มำ: ตรงใจ หุตำงกูร, “กำรตีควำมใหม่เรื่องขอบเขตแนวชำยฝั่งทะเลโบรำณ
                          สมัยทวำรวดีบนที่รำบภำคกลำงตอนล่ำง” ด ำรงวิชำกำร 13, 1 (มกรำคม – มิถุนำยน 2557): รูปที่ 7.)


                              ส ำหรับแผนผังของเมืองสมัยทวำรวดีนั้นจะมีคูน ้ำคันดินล้อมรอบ 1–2 ชั้น แต่ไม่มี
                       รูปแบบผังเมืองตำยตัว มีทั้งรูปไข่ เกือบกลม สี่เหลี่ยมผืนผ้ำมุมมน คือจะมีผังเมืองรูปร่ำงไม่

                       สม ่ำเสมอ แต่เมืองทวำรวดีจะวำงผังโดยพิจำรณำตำมสภำพภูมิประเทศและล ำน ้ำเป็นส ำคัญ
                       โดยเมืองที่มีขนำดใหญ่ที่สุดคือ เมืองนครปฐมโบรำณ มีควำมกว้ำง 2 กิโลเมตร ยำว 3.6

                       กิโลเมตร (มีพื้นที่ภำยในคูเมืองมำกถึง 3,809 ไร่) (ภำพที่ 41) แต่โดยทั่วไปเมืองทวำรวดีมักมี
                       ขนำดไม่ใหญ่นักรำว 600 – 800 เมตร (ภำพที่ 42 - 43) โดยจะพบชุมชนหรือเมืองโบรำณสมัย

                       ทวำรวดีหนำแน่นในที่รำบลุ่มภำคกลำง ส่วนเมืองโบรำณร่วมสมัยทวำรวดีในภำค
                       ตะวันออกเฉียงเหนือมักมีแผนผังซับซ้อนกว่ำเมืองในภำคกลำง อำจมีคูน ้ำคันดินหลำยชั้น หรือ

                       เป็นเมืองขยำย และมักมีร่องรอยของอ่ำงเก็บน ้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำหรือบำรำยตำมแบบวัฒนธรรม





                                                               75
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86