Page 85 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 85
สิ่งที่น่ำสังเกตอีกประกำรหนึ่งคือ กำรตั้งถิ่นฐำนของชำวทวำรวดีจะค ำนึงถึงกำร
46
ด ำรงชีวิตมำกกว่ำควำมเชื่อทำงศำสนำหรือกำรจ ำลองจักรวำล อันแตกต่ำงจำกแบบแผนของ
กัมพูชำหรือเขมรโบรำณที่นิยมวำงผังเมืองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ และยังมีกำรขุด
อ่ำงเก็บน ้ำหรือบำรำยขนำดใหญ่เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำด้วย ดังจะเห็นได้จำกกำรผสมผสำนกัน
ระหว่ำงแบบแผนกำรสร้ำงเมืองในวัฒนธรรมทวำรวดีกับคติกำรสร้ำงเมืองแบบเขมรได้ในเขต
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
3.3 ขอบเขตของรัฐทวารวดี
ถึงแม้จะพบชุมชนและเมืองโบรำณในวัฒนธรรมทวำรวดีกระจำยอยู่ตำมภูมิภำคต่ำงๆ
แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำนั่นคือขอบเขตทั้งหมดภำยใต้กำรปกครองของกษัตริย์แห่งรัฐทวำรวดี
เพรำะยังไม่มีรำยงำนอย่ำงเป็นทำงกำรถึงกำรค้นพบเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดีฯ ที่เมืองใน
ลุ่มแม่น ้ำลพบุรี-ป่ำสัก ลุ่มแม่น ้ำบำงปะกงทำงภำคตะวันออก ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภำคเหนือ ดังนั้นน่าจะใช้ต าแหน่งของสถานที่ที่พบเหรียญเงินมีจารึกศรีทวารวดีฯ มา
47
เป็นเครื่องบ่งชี้ขอบเขตของรัฐทวารวดีได้ เพราะหากใช้เกณฑ์ดังกล่าวแล้ว รัฐทวารวดี
คงมีขอบเขตอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น ้าท่าจีน-แม่กลอง อันมีเมืองส าคัญและมีขนาดใหญ่ที่
ถือเป็นแกนกลางของวัฒนธรรม ได้แก่ อู่ทอง คูบัว นครปฐม และพื้นที่บำงส่วนของลุ่มน ้ำ
เจ้ำพระยำ เช่น อินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี และอู่ตะเภำ จังหวัดชัยนำท
ในส่วนของเมืองลพบุรีหรือละโว้ซึ่งเคยมีนักวิชำกำรหลำยท่ำนเชื่อว่ำเป็นเมืองหลวงของ
48
ทวำรวดี ก็คงมีชื่อเฉพำะของรัฐหรือเมืองของตนว่ำ “ลวปุระ” เพรำะได้พบเหรียญเงินมีจำรึก
49
อักษรปัลลวะระบุชื่อดังกล่ำวที่เมืองอู่ทอง (ภำพที่ 45) ต ำนำนทำงล้ำนนำคือชินกำลมำลี
ปกรณ์ก็กล่ำวถึงกำรอัญเชิญพระนำงจำมเทวี (หรือจัมมเทวี) จำก “เมืองลวปุระ” ให้ขึ้นไปครอง
50
เมืองหริปุญชัย (ล ำพูน) เมื่อ พ.ศ. 1206 ซึ่งต่อมำในรำวพุทธศตวรรษที่ 16 เมืองลพบุรีก็ยังใช้
51
ชื่อคล้ำยเดิมว่ำ “โลฺว” ดังปรำกฏในจำรึกศำลเจ้ำ ภำษำเขมร หลักที่ 21 ดังนั้นลวปุระหรือละโว้
จึงมีชื่อและบทบำทของตนเองโดยเฉพำะในสมัยทวำรวดี
ภำพที่ 45 เหรียญเงินมีจำรึกอักษรปัลลวะ “ลวปุระ” พบที่เมืองอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
(ที่มำ: J.J.Boeles, “A note on the ancient city called Lavapura,”
Journal of the Siam Society LV, I (January 1967): 115.)
79