Page 86 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 86
นอกจำกนี้ยังพบค ำว่ำทวำรวดีในข้อควำมว่ำ “พระเทวี (มเหสี) ของเจ้าแห่งทวารวดี
ทรงบัญชาให้พระธิดาสร้างพระรูปของพระตถาคตนี้ ไว้” ปรำกฏในศิลำจำรึกฐำน
พระพุทธรูปศิลปะทวำรวดี จำกวัดจันทึก อ ำเภอปำกช่อง จังหวัดนครรำชสีมำ ซึ่งเป็นจำรึก
52
อักษรปัลลวะ ภำษำสันสกฤต ก ำหนดอำยุได้รำวพุทธศตวรรษที่ 12 (ภำพที่ 46)
ภำพที่ 46 ฐำนพระพุทธรูปหินทรำยมีจำรึก พบที่วัดจันทึก อ ำเภอปำกช่อง จังหวัดนครรำชสีมำ
ค ำแปล “พระเทวี (มเหสี) ของเจ้ำแห่งทวำรวดีทรงบัญชำให้พระธิดำสร้ำงพระรูปของพระตถำคตนี้ไว้”
จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พิมำย
อย่ำงไรก็ตำม เรำก็ไม่อำจน ำจำรึกหลักนี้มำใช้แปลควำมได้ว่ำ บริเวณอ ำเภอปำกช่องจะ
นับเนื่องอยู่ในขอบเขตกำรปกครองของรัฐทวำรวดี เพรำะยังไม่พบเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดี
ในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ทว่ำจำรึกหลักนี้ก็แสดงให้เห็นถึงกำรแพร่หลำยของวัฒนธรรมทำง
พุทธศำสนำจำกทวำรวดีในภำคกลำงฝั่งตะวันตกไปยังภูมิภำคอีสำนใต้ และนักวิชำกำรบำงท่ำน
ยังเคยตั้งข้อสันนิษฐำนด้วยว่ำ อำจมีควำมสัมพันธ์ทำงเครือญำติกันระหว่ำงกษัตริย์หรือ
ชนชั้นสูงของทวำรวดีกับผู้ปกครองในพื้นที่ใกล้เคียงกับที่พบจำรึกวัดจันทึก เช่นเมืองโบรำณ
เสมำ อ ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครรำชสีมำก็เป็นได้
53
3.4 จารึกสมัยทวารวดี
จำรึกสมัยทวำรวดีส่วนใหญ่เป็นจำรึกอักษรปัลลวะ (อักษรของอินเดียภำคใต้) และ
อักษรหลังปัลลวะ (พัฒนำมำจำกอักษรปัลลวะ) มีภำษำที่มำจำกประเทศอินเดียคือ ภำษำบำลี
ซึ่งใช้จำรึกหลักธรรมพุทธศำสนำนิกำยหีนยำนหรือเถรวำท และมีจำรึกภำษำสันสกฤตอยู่บ้ำง
โดยใช้กับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกษัตริย์หรือศำสนำพรำหมณ์ แต่ยังไม่พบจำรึกที่สัมพันธ์กับ
พุทธศำสนำมหำยำนเลย
54
80