Page 89 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 89
จำรึกภำษำมอญโบรำณในภำคกลำงอีกหลักหนึ่งที่น่ำสนใจคือ จำรึกปำกถ ้ำนำรำยณ์
(ถ ้ำเขำวง) อ ำเภอพระพุทธบำท จังหวัดสระบุรี ซึ่งใช้อักษรปัลลวะ ก ำหนดอำยุรำวพุทธศตวรรษ
ที่ 12 มีใจควำมกล่ำวถึง “ภูเขาชื่อปุมยะคีรีกุนทรีชนผู้ตั้งอาณาจักรอนุราธปุระ ได้มอบให้พ่อลุง
สินายธะเป็นตัวแทนพร้อมกับชาวเมือง (อนุราธปุระ) ร่วมกันจัดพิธีขับร้องฟ้อนร า (เพื่อเป็นการ
62
เฉลิมฉลองปูชนียวัตถุ) ที่ประดิษฐานไว้แล้วในสถานที่นี้” นอกจำกจะเกี่ยวข้องกับพิธีขับร้อง
ฟ้อนร ำคล้ำยกับหน้ำที่ของ “โต้ง” ในจำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง) แล้ว ยังมีค ำว่ำ “อนุรำธปุระ” ซึ่งเป็น
เมืองหลวงของประเทศศรีลังกำในช่วงร่วมสมัยทวำรวดีอีกด้วย จำรึกถ ้ำนำรำยณ์จึงเป็น
หลักฐำนทำงเอกสำรที่แสดงให้เห็นถึงกำรติดต่อสัมพันธ์ทำงใดทำงหนึ่งระหว่ำงผู้คนในดินแดน
63
ไทยสมัยทวำรวดีกับศรีลังกำ
จำกกำรค้นพบจำรึกภำษำมอญโบรำณหลำยหลักตำมชุมชนและบ้ำนเมืองโบรำณสมัย
ทวำรวดี ทั้งในภำคกลำงและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ (ในภำคตะวันออกเฉียงเหนือมักเป็น
จำรึกอักษรหลังปัลลวะ) (ภำพที่ 49) ท ำให้นักวิชำกำรในอดีตเสนอว่ำ ผู้คนพื้นเมืองทวารวดี
64
ส่วนใหญ่คงเป็นชาวมอญ หรืออย่างน้อยบริเวณที่ราบลุ่มแม่น ้าเจ้าพระยาช่วงสมัย
ทวารวดีคงมีชาวมอญอาศัยอยู่แล้ว และกลุ่มชนที่ใช้ภาษามอญโบราณก็คงเข้ามาตั้ง
65
66
ถิ่นฐานบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วย
ภำพที่ 49 จำรึกภำษำมอญโบรำณ อักษรหลังปัลลวะ ด้ำนหลังพระพิมพ์ศิลปะทวำรวดี
พบที่เมืองนครจ ำปำศรี อ ำเภอนำดูน จังหวัดมหำสำรคำม
ค ำแปล “บุญอันนี้ในกอมระตำญง พร้อมไปด้วยสหำยของตน ผู้เป็นสำมัญชนได้ร่วมกันสร้ำงไว้”
(ที่มำ: ฐำนข้อมูลจำรึกในประเทศไทย ของศูนย์มำนุษยวิทยำสิรินธร (องค์กำรมหำชน))
83