Page 91 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 91
ซึ่งท ำให้ทรำบว่ำมีชื่อ “เมืองตงฺคุรฺ” และ “เมืองศำมฺพูกะ” อยู่ในสมัยทวำรวดี โดยศำสตรำจำรย์
ยอร์ช เซเดส์ เคยกล่ำวไว้ว่ำ “ส่วนเมืองศามฺพูกะจะอยู่ที่ไหนยังสงสัยอยู่จะเป็นเมืองใกล้เคียง
75
หรือเมืองขึ้นของกรุงทวารวดีก็เป็นได้”
ภำพที่ 50 จำรึกที่ฐำนพระพุทธรูปศิลปะทวำรวดี พบที่วัดพระศรีรัตนมหำธำตุ ลพบุรี
จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ สมเด็จพระนำรำยณ์
ชื่อ “ศำมพูกะ” ยังปรำกฏอยู่ในศิลำจำรึกวัดกุดแต้ พบที่บ้ำนเขำน้อยสีชมพู อ ำเภอ
อรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จำรึกหลักนี้จำรเป็นอักษรปัลลวะ ภำษำสันสกฤต ก ำหนดอำยุรำว
พุทธศตวรรษที่ 12 กล่ำวถึงรัชกำลของพระเจ้ำภววรมันที่ 2 แห่งอำณำจักรเจนละซึ่งครองรำชย์
ในช่วง พ.ศ. 1171 – ก่อน พ.ศ. 1198 และมีเนื้อควำมตอนหนึ่งว่ำ “เสนาบดีผู้ใหญ่ที่เป็นรองเจ้า
76
เมืองเชยษฐปุระ ได้ช่วยปราบปรามพวกศัมพูกะ ด้วยลูกศรอันแหลมคม” ดังนั้นค ำว่ำ “ศัมพูกะ”
หรือ “ศำมฺพูกะ” จึงน่ำจะเป็นทั้งชื่อชนชำติและชื่อเมือง โดยปรำกฏมำแล้วตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของ
พุทธศตวรรษที่ 12 พร้อมกับกำรก ำเนิดขึ้นของรัฐทวำรวดี และอำจมีควำมเคลื่อนไหวสืบมำใน
รำวพุทธศตวรรษที่ 13 – 14
จำรึกที่ยกตัวอย่ำงมำข้ำงต้นแสดงให้เห็นถึงควำมสัมพันธ์บำงประกำรระหว่ำงบ้ำนเมือง
ในสมัยทวำรวดีในประเทศไทยกับอำณำจักรเจนละในประเทศกัมพูชำ ลักษณะเช่นนี้ยังได้พบ
จำกข้อควำมในจำรึกแผ่นทองแดง พบที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ด้วย
จำรึกแผ่นทองแดงนี้ไม่ทรำบต ำแหน่งที่มำชัดเจน เพรำะนำงแถม เสือค ำ ขุดพบในเมือง
77
อู่ทองเมื่อเดือนกันยำยน พ.ศ. 2500 ศำสตรำจำรย์ ฉ ่ำ ทองค ำวรรณ ผู้เชี่ยวชำญภำษำเขมร
ระบุว่ำ เป็นจำรึกอักษรขอมโบรำณ ลักษณะตัวอักษรแบบสมัย พ.ศ. 1100 โดยมีเนื้อหำกล่ำวถึง
85