Page 94 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 94

ในรูปของพระศิวลึงค์ ด้วยเหตุนี้โบรำณสถำนคอกช้ำงดินจึงเป็นเทวำลัยเนื่องในไศวนิกำยซึ่ง
                       กษัตริย์แห่งทวำรวดีช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 และพระเจ้ำหรรษวรมันช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 - 14
                                                                                    83
                       ได้มำประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์หรือมำปฏิบัติบูชำ ณ สถำนที่แห่งนี้
                              ลักษณะเช่นนี้พบที่เมืองโบรำณนครปฐมด้วย เพรำะเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดีฯ

                       2 เหรียญที่มีกำรเผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2507 นั้นก็พบที่โบรำณสถำนเนินหินซึ่งน่ำจะเป็นเทวำลัย
                                  84
                       เช่นเดียวกัน  ดังนั้นเหรียญเงินมีจารึกศรีทวารวดีฯ ไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นว่ามีกษัตริย์
                       แห่งทวารวดีอยู่ในเขตภาคกลางฝั่งตะวันตกของประเทศไทยเท่านั้น  แต่ยังแสดงให้
                                                                                          85
                       เห็นถึงกิจกรรมทางศาสนาพราหมณ์ของราชส านักทวารวดีอีกด้วย


                       3.5  ทวารวดีในเอกสารจีนสมัยราชวงศ์ถัง

                              สำรำนุกรม “ทงเตี่ยน” (Tong-dian) รวบรวมขึ้นในสมัยรำชวงศ์ถังช่วงปลำย
                       พุทธศตวรรษที่ 13 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 14  ได้บันทึกเกี่ยวกับประเทศหนึ่งชื่อว่ำ “โถวเหอ”
                                                              86
                                                  87
                       (Tuo-he) โดยมีรำยละเอียดดังนี้

                                     “ประเทศโถวเหอเป็นที่รู้จักมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุย (ระหว่ำง พ.ศ.
                                                            88
                                1132–1161) ตั้งอยู่ทำงใต้ของเจนละ  บนเกำะใหญ่ (หรือดินแดนที่ล้อมรอบด้วย
                                น ้ำ) ในทะเลใต้ โดยเริ่มเดินทำงจำกเมืองกว่ำงโจวไปทำงตะวันตกเฉียงใต้ถึงได้ใน
                                เวลำ 100 วัน ชื่อรำชวงศ์ของกษัตริย์คือ “โถวเหอหลัว” (Tuo-he-luo) กษัตริย์มี
                                พระนำมว่ำ ผูเสียฉี่เหยำ (Pu xie qi yao) พระองค์ทรงมีพระรำชอ ำนำจควบคุม
                                อีกบำงเมืองด้วย พระรำชวังมีหลำยชั้นมุงหลังคำด้วยกระเบื้องและก ำแพงวังก็
                                เขียนสี ภำยในก ำแพงมีเพียงปรำสำทรำชวังของกษัตริย์ นอกก ำแพงเป็นที่อยู่
                                อำศัยของชำวเมืองซึ่งมีมำกกว่ำ 10,000 คน มีทหำร 100 คนหรือมำกกว่ำนั้นคอย

                                ตรวจตรำทั้งวันทั้งคืน เมื่อกษัตริย์ออกว่ำรำชกำรจะทรงสวมฉลองพระองค์สี
                                รุ่งอรุณ มงกุฎทองค ำ กุณฑลทองค ำ ทับทรวงทองค ำ และฉลองพระบำทท ำจำก
                                หนังที่ประดับด้วยอัญมณีมีค่ำ
                                     ระบบรำชกำรของประเทศนี้มีเฉ่ำฉิ่งเจียงจวิน (Chao-qing-jiang-jun) เป็นผู้
                                ควบคุมดูแลทั้งประเทศ  และยังมีชำนจวิน (Can-jun) กงเชำ (Gong-cao) เซริงป๋อ
                                                 89
                                (Sheng-bo) เฉิงจู๋ (Cheng-ju) จินเวยเจียงจวิน (Jin-wei-jiang-jun) จ่ำนลี่ (Zan-li)
                                                                           90
                                จ่ำนฝู่ (Zan-fu) ฯลฯ เป็นผู้ดูแลประชำชนและกองทหำร  นอกจำกนี้ยังแบ่งเป็น
                                                                                   91
                                (กำรปกครองส่วนท้องถิ่นคือ) โจว (Zhou) และจวิ้นเชี่ยน (Jun-xian)  ผู้ว่ำกำรของ
                                โจวคือชำนจวิน (Can-jun) ผู้ว่ำกำรของจวิ้น (Jun) คือ จินเวยเจียงจวิน (Jin-wei-
                                jiang-jun) และผู้ว่ำกำรของเสี้ยน (Xian) คือ เฉิงจู๋ (Cheng-ju) เมื่อมีกำร
                                เปลี่ยนแปลงก็จะต้องมีกำรเลือกคณะผู้บริหำรชุดใหม่ (ของกำรปกครองท้องถิ่น)

                                เพื่อช่วยในกำรบริหำรประเทศ







                                                               88
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99