Page 93 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 93
ต่อมำ ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.กังวล คัชชิมำ อำจำรย์ประจ ำภำควิชำภำษำตะวันออก
ผู้เชี่ยวชำญด้ำนจำรึกภำษำเขมร กล่ำวว่ำ จำรึกแผ่นทองแดงนี้ใช้ภำษำสันสกฤต เป็นตัวอักษร
หลังปัลลวะ ก ำหนดอำยุอยู่ในช่วงปลำยพุทธศตวรรษที่ 13 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 14 แต่
พระนำมของพระเจ้ำหรรษวรมันในจำรึกนั้นคงไม่ใช่กษัตริย์ของกัมพูชำโบรำณในสำยตระกูล
หลักซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีแล้ว พระองค์น่ำจะเป็นกษัตริย์ใน “สมัยมืดมนทำงประวัติศำสตร์” ช่วง
81
พุทธศตวรรษที่ 13 – 14 หรือในช่วงที่เรียกว่ำ “ยุคเจนละบก-เจนละน ้ำ”
จำรึกแผ่นทองแดงยังแสดงให้เห็นถึงคติกำรบูชำศิวลึงค์ในลัทธิไศวนิกำย กำรขุดค้นโดย
กรมศิลปำกรที่โบรำณสถำนคอกช้ำงดินหมำยเลข 7 ยังได้พบภำชนะดินเผำที่บรรจุก้อนเงิน
เหรีญเงินมีสัญลักษณ์มงคล และเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดีศวรปุณยะจ ำนวน 3 เหรียญ (ภำพ
ที่ 52) แสดงให้เห็นว่ำมีกิจกรรมของกษัตริย์แห่งทวารวดีที่เมืองอู่ทอง โดยเป็นการ
ประกอบกิจพิธีที่เกี่ยวเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ณ คอกช้างดิน ซึ่งเป็นเทวาลัยของ
พวกพราหมณ์
82
ภำพที่ 52 ภำชนะดินเผำบรรจุก้อนเงินและเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดี 3 เหรียญ
พบจำกกำรขุดค้นที่โบรำณสถำนคอกช้ำงดิน หมำยเลข 7
จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ อู่ทอง
อำจำรย์ ก่องแก้ว วีระประจักษ์ ยังได้เสนอแนวคิดว่ำภำชนะดินเผำที่บรรจุเหรียญเงินมี
จำรึกศรีทวำรวดีฯ พร้อมกับเหรียญตรำอื่นๆ (ศรีวัตสะ วัชระ ปลำ ปูรณกลศ สังข์ ฯลฯ) และ
ก้อนเงินอีกจ ำนวนหนึ่งที่ขุดค้นพบที่โบรำณสถำนคอกช้ำงดินหมำยเลข 7 นั้นคงเป็นกำรจงใจ
วำงวัตถุต่ำงๆ ลงในภำชนะ คือเป็นเครื่องหมำยแห่งสิริมงคลหรือเป็นสัญลักษณ์ของจักรวำล
87