Page 95 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 95

ส ำหรับกำรลงทัณฑ์นั้น หำกเป็นโจรขโมยจะถูกประหำรในกรณีท ำผิด
                                ร้ำยแรง แต่หำกเป็นเรื่องเล็กกว่ำนั้นก็ตัดจมูกและหู รวมทั้งกำรตัดจุกหรือปอยผม
                                     ถ้ำหำกผู้ใดฝ่ำฝืนหล่อเหรียญเงินขึ้นใช้เองโดยไม่ได้รับอนุญำตจะถูกตัด
                                แขน ประเทศนี้มีการค้าขายแลกเปลี่ยนอย่างเสรี ไม่เก็บภาษี ชาวเมือง
                                ส่วนใหญ่ท าเกษตรกรรมและค้าขาย ประชำชนสำมำรถขี่ช้ำงได้ดีพอๆ กับขี่ม้ำ

                                ซึ่งในประเทศนี้มีม้ำอยู่ไม่มำกรำวๆ 1,000 ตัว แต่ก็ไม่มีกำรใช้อำนและบังเหียน
                                แต่จะบังคับม้ำโดยใช้เชือกผูกติดกับก้น เครื่องดนตรีที่เล่นคือกำรเป่ำสังข์และ
                                ตีกลอง เมื่อมีคนตำยจะจัดท ำพิธีศพ ร่ำงกำยจะถูกเผำ เถ้ำอัฐิถูกเก็บใส่ภำชนะ
                                แล้วจึงน ำไปลอยอังคำร หำกพ่อหรือแม่เสียชีวิต ลูกชำยและลูกสำวจะโกนผมของ
                                ตนเพื่อเป็นกำรไว้ทุกข์ ในประเทศนี้มีตลาด (หรือเมือง) 6 แห่ง ในการค้าขาย

                                แลกเปลี่ยนทุกคนจะใช้เหรียญเงินตราที่มีขนาดเล็กรูปร่างคล้ายเมล็ดเอล์ม
                                (elmseeds) เป็นสื่อกลาง ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา และมีกำร
                                จัดตั้งโรงเรียน โดยใช้ภำษำเขียนที่แตกต่ำงไปจำกจีน
                                     ผู้อำวุโสของประเทศนี้อธิบำยว่ำ กษัตริย์ไม่มีชื่อรำชวงศ์ พระองค์มี

                                พระนำมว่ำฉีจั้งหมัว (Qi-zhang-mo) ที่ประทับของพระองค์เป็นหลังคำมุงจำก
                                ปรำสำทหลังนี้มีรูปร่ำงกลมคล้ำยกับพระเจดีย์ทำงพุทธศำสนำ และประดับตกแต่ง
                                ด้วยทอง ประตูทั้งหมดเปิดไปทำงตะวันออก
                                     ในรัชศกเจินกวน (พ.ศ. 1170–1192) แห่งราชวงศ์ถัง ประเทศโถวเหอ
                                ส่งบรรณาการไปยังราชส านักจีน โดยบรรจุพระราชสาส์นไปในกล่องทองค า

                                พวกเขาถวายสิ่งของบรรณาการประมาณ 10 อย่าง ประกอบด้วย แจกัน
                                ทองค า สายสร้อยทองค า สายรัดองค์ท าจากอัญมณีมีค่า นอแรด งาช้าง และ
                                ผลผลิตจากทะเลหลายชนิด เป็นต้น”


                              นักวิชาการหลายท่านมีความเห็นว่า “โถวเหอ” หรือ “โถวเหอหลัว” เป็นค าที่จีน

                                         92
                       ใช้เรียก “ทวารวดี”  นอกจำกสำรำนุกรมทงเตี่ยนแล้ว หนังสือประวัติศำสตร์รำชวงศ์ถังฉบับ
                       เก่ำ (จิ่วถังชู) (Jiu-tang-shu) และฉบับใหม่หรือชินถังซู (Xin-tang-shu) ยังกล่ำวว่ำโถวเหอหลัว

                       มีอำณำเขตทำงใต้ติดกับพันพัน ทิศเหนือจรดกับเจียหลัวเส่อฝอ (Jia-luo-she-fo) ทำงตะวันออก
                                                                   93
                       ติดกับเจนละ และทำงตะวันตกจรดทะเลใหญ่  เนื่องด้วยรัฐพันพันที่ตั้งอยู่ทำงใต้ของ
                       โถวเหอหลัวนั้นนักวิชำกำรหลำยท่ำนสันนิษฐำนว่ำคงตั้งอยู่แถบอ่ำวบ้ำนดอน (ดังกล่ำวแล้วใน
                       บทที่ 2) ดังนั้นเถอโหอหลัวต้องตั้งอยู่แถบภำคกลำงของไทย สอดคล้องกับต ำแหน่งที่พระ

                       ถังซัมจั๋งระบุถึงโตโลโปตีทำงตะวันตกของเจนละหรืออีศำนปุระ (คือแคว้นอี้เซี้ยน้ำโป้ล้อ)
                              ข้อมูลจำกหนังสือ “กำรค้ำหนำนไห่: กำรศึกษำประวัติศำสตร์กำรค้ำของจีนในระยะแรก

                       บริเวณ ทะเลจีนใต้ (The Nanhai Trade: A Study of the Early History of Chinese Trade in
                       the South China Sea) ของหวำง กุงหวู่ (Wang Gungwu) ได้ให้รำยละเอียดของปีศักรำชที่

                       โถวเหอส่งบรรณำกำรไปยังจีนด้วยคือ พ.ศ. 1126 (?), ช่วง พ.ศ. 1170–1192, พ.ศ. 1181 และ





                                                               89
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100