Page 97 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 97

จำกข้อมูลข้ำงต้นท ำให้สันนิษฐำนได้ว่ำโถวเหอหรือทวำรวดีที่ส่งบรรณำกำรไปจีนคงมี
                       ศูนย์กลำงอยู่ที่เมืองนครปฐมโบรำณ ด้วยเป็นสถำนที่ที่ค้นพบเหรียญเงินมีจำรึกศรีทวำรวดีฯ
                       แม้ว่ำจะมีกำรค้นพบเหรียญเงินมีจำรึกแบบนี้แล้วตำมเมืองโบรำณหลำยแห่ง แต่เมืองนครปฐมก็

                       มีอำณำบริเวณกว้ำงขวำงที่สุดในสมัยทวำรวดี เฉพำะในเขตคูน ้ำนั้นมีพื้นที่มำกถึง 3,809 ไร่

                       และนอกเมืองห่ำงออกไปทำงตะวันตกประมำณ 2 กิโลเมตร ยังเป็นที่ตั้งขององค์พระปฐมเจดีย์
                       (องค์เดิม) ที่มีขนำดใหญ่มำก
                              เมื่อไม่นำนมำนี้ศำสตรำจำรย์ โคลด ชำค (Claude Jacques) ผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรอ่ำน

                       จำรึกชำวฝรั่งเศสได้ตั้งข้อสังเกตว่ำ มีควำมเป็นไปได้หรือไม่ที่ทวำรวดีคือเมืองศรีเทพ จังหวัด

                       เพชรบูรณ์ ด้วยปรำกฏวัฒนธรรมกำรบูชำพระวิษณุและพระกฤษณะ (พบเทวรูปพระวิษณุและ
                       พระกฤษณะหลำยองค์ที่ศรีเทพ) มำกกว่ำเมืองอื่นๆ เพรำะชื่อ “ทวำรวดี” หรือ “ทวำรกำ” คือ
                                                                103
                       เมืองของพระกฤษณะทำงตะวันตกของอินเดีย  แต่นอกเหนือจำกที่เรำจะไม่พบเหรียญเงินมี
                       จำรึกศรีทวำรวดีฯ ที่เมืองศรีเทพแล้ว ต ำนำนเกี่ยวกับพระกฤษณะนี้ยังเกี่ยวข้องกับต ำนำนเมือง

                       นครไชยศรีหรือนครปฐมโบรำณด้วย เพรำะต ำนำนที่รู้จักกันดีอีกเรื่องหนึ่งของเมืองนครปฐมคือ
                       “พระยำกง – พระยำพำน” ซึ่งสัมพันธ์กับกำรสร้ำงองค์พระปฐมเจดีย์ (องค์เดิม) โดยต ำนำน
                       พระกฤษณะนั้นผูกพันอยู่กับกำรปรำบปรำมอสูรต่ำงๆ ที่ส ำคัญคือ “ท้ำวกังสะ” หรือ “พระยำ

                                                                      104
                       กงส์” และยังมี “พำณำสูร” หรือ “พระเจ้ำกรุงพำณ”  ซึ่งชื่อเหล่ำนี้คงเป็นต้นเค้ำของนำม
                       “พระยำกง” และ “พระยำพำน” (หรือพำล) ในต ำนำนของเมืองนครปฐม
                                                                                    105
                              ดังนั้นจึงอำจกล่ำวได้ว่ำ ประวัติศาสตร์ของรัฐทวารวดีซึ่งจีนบันทึกเอาไว้ในช่วง

                       พุทธศตวรรษที่ 12 คือช่วงเวลาเดียวกันกับ  “การสร้างบ้านแปงเมืองนครไชยศรี” หรือ
                                                  106
                       เมืองนครปฐมในสมัยโบราณ
























                                                               91
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102