Page 90 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 90

นอกจำกนี้ยังมีผลกำรศึกษำทำงด้ำนภำษำศำสตร์ในกลุ่มภำษำญัฮกุร (Nyah Kur) หรือ
                       เนี่ยะกูล (Niakuol) ซึ่งนักวิชำกำรบำงท่ำนเสนอว่ำเป็นกลุ่มภำษำที่ใกล้ชิดกับภำษำมอญโบรำณ
                       โดยชำวญัฮกุร (ปัจจุบันอำศัยอยู่ในแถบอ ำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ) รู้จักค ำว่ำ “ตะล่ำแพนตี”

                                                                   67
                       ในควำมหมำยว่ำ “เจ้ำของแผ่นดิน” หรือกษัตริย์  ซึ่งพ้องกันโดยบังเอิญกับชื่อ “โตโลโปตี”
                       ในบันทึกของพระถังซัมจั๋ง อันเป็นประเด็นที่ควรศึกษำต่อไป
                              อนึ่ง มีข้อสังเกตว่ำในช่วงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 15 ดินแดนแถบทวำรวดีแต่เดิมนี้

                       อำจได้รับกำรขนำนนำมว่ำ “รามัณยะ” อันท ำให้นึกถึง “รำมญฺญเทส” หรือประเทศรำมัญทำง
                       ตอนใต้ของประเทศพม่ำในปัจจุบัน ซึ่งทรำบกันดีว่ำเป็นดินแดนของชนชำติมอญ เพรำะจำรึก

                       ปรำสำทบึงเวียนในประเทศกัมพูชำ (พ.ศ. 1489) ระบุว่ำ พระเจ้ำรำเชนทรวรมัน (ทรงครองรำชย์
                       ระหว่ำง พ.ศ. 1487–1511) ทรงมีชัยชนะในกำรท ำสงครำมเหนือจัมปำ (ในเวียดนำมปัจจุบัน)

                       และ “รำมัณยะ” เปรียบดั่งพระรำมที่ทรงแผลงศรไปทำงเบื้องขวำและเบื้องซ้ำย
                                                                                          68
                              ดูเหมือนว่ำ ไฮแรม วูดวำร์ด (Hiram Woodward) จะเป็นนักวิชำกำรเพียงไม่กี่ท่ำนที่ให้

                       ควำมส ำคัญกับข้อควำมในจำรึกปรำสำทบึงเวียน ซึ่งที่นี่เป็นพุทธสถำนแห่งแรกในศิลปะขอมที่
                       สร้ำงขึ้น เพื่อประดิษฐำนพระรัตนตรัยมหำยำน คือ พระพุทธรูป พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และ

                       นำงปรัชญำปำรมิตำ โดยพระพุทธรูปที่พบ ณ ปรำสำทบึงเวียนนั้นเป็นพระพุทธรูปประทับยืน
                       สูง 46 เซนติเมตร ซึ่งวูดวำร์ด กล่ำวว่ำมีพุทธลักษณะบำงประกำรคล้ำยกับพระพุทธรูปในศิลปะ

                                       69
                       ทวำรวดีตอนปลำย
                              ไฮแรม วูดวำร์ด ยังพบว่ำบริเวณชำยแดนภำคตะวันออกของประเทศไทยยังปรำกฏ

                                                                          70
                                                                                      71
                       จำรึกของพระเจ้ำรำเชนทรวรมันอย่ำงน้อย 2 หลัก (K.957  และ K.999 ) ทั้งยังได้พบทับหลัง
                       ศิลปะเขมรที่ก ำหนดอำยุอยู่ในช่วงปลำยพุทธศตวรรษที่ 15 มำจำกอ ำเภอวัฒนำนคร จังหวัด
                       สระแก้ว (จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ ปรำจีนบุรี) ท ำให้วูดวำร์ดสันนิษฐำนว่ำบำงที
                       หลักฐำนจำรึกและศิลปกรรมเหล่ำนี้อำจแสดงให้เห็นถึงควำมสัมพันธ์กับข้อควำมในจำรึก

                                                                                                  72
                       ปรำสำทบึงเวียนที่กล่ำวถึงกำรมีชัยชนะเหนือรำมัณยะของพระเจ้ำรำเชนทรวรมัน  ซึ่งใน
                       วิทยำนิพนธ์ปริญญำเอกของเขำที่เผยแพร่มำก่อนใน พ.ศ. 2518 เรื่อง “กำรศึกษำงำนศิลปกรรม

                       ในภำคกลำงของสยำม ระหว่ำง พ.ศ. 1493–1893” เคยกล่ำวไว้ด้วยว่ำเหตุกำรณ์นี้อำจน ำมำสู่
                                            73
                       กำรล่มสลำยของทวำรวดี  อันเป็นประเด็นที่ควรตรวจสอบต่อไปเช่นเดียวกัน

                              3.4.2  ตัวอย่างจารึกส าคัญในสมัยทวารวดี

                              จำรึกที่น่ำสนใจหลักหนึ่งคือ จำรึกที่ฐำนพระพุทธรูปศิลปะทวำรวดี พบที่วัดพระศรี
                       รัตนมหำธำตุ ลพบุรี เป็นจำรึกภำษำสันสกฤต อักษรหลังปัลลวะ ก ำหนดอำยุรำวพุทธศตวรรษที่

                       13 – 14 มีข้อควำมว่ำ “นายก (นามเดิม) อารฺชวะ ผู้เป็นอธิบดีชาวเมืองตงฺคุรฺ และเป็น
                                                                                             74
                       พระโอรสของพระเจ้าเมืองศามฺพูกะ ได้ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้ ”  (ภำพที่ 50)






                                                               84
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95