Page 88 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 88
ภำพที่ 48 จำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง)
เมืองนครปฐมโบรำณ
จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ
พระปฐมเจดีย์
3.4.1 จารึกภาษามอญโบราณสมัยทวารวดี
57
จำรึกภำษำมอญโบรำณซึ่งมีอำยุรำวพุทธศตวรรษที่ 12 มักพบอยู่ในเขตภำคกลำง
โดยจำรึกภำษำมอญโบรำณที่เก่ำที่สุดหลักหนึ่งก็คือ จำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง) พบที่จังหวัดนครปฐม
58
ก ำหนดอำยุรำวกลำงพุทธศตวรรษที่ 12 หรือเก่ำกว่ำนั้นเล็กน้อย ข้อควำมในจำรึกกล่ำวถึง
“บริเวณอารามที่มีเนื้อที่ดินจ านวน 170 มีแนวต้นมะพร้าวเป็นเครื่องหมายเขตของอาราม
พร้อมด้วยเสาหงส์ 1 ต้น ภาชนะอาบเงิน พระพุทธรูปและวิหาร ได้เกิดจากการกระท าของโต้ง
ทั้ง 2ฯ” ค ำในจำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง) มีควำมเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมมอญทั้งในอดีตและปัจจุบัน
เพรำะ “เสำหงส์” ถือเป็นสัญลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของชำวมอญ ส่วนค ำว่ำ “โต้ง” นั้นคือผู้น ำ
59
ร ำพิธีผีมอญ รองศำสตรำจำรย์ กรรณิกำร์ วิมลเกษม ผู้เชี่ยวชำญด้ำนภำษำและจำรึกก็เคย
เสนอว่ำ พัฒนำกำรของอักษรพม่ำมีกำรใช้รูปแบบตัวอักษรในจำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง) และจำรึก
60
เสำแปดเหลี่ยมจำกจังหวัดลพบุรีไปเป็นต้นแบบของตัวอักษรมอญโบรำณด้วย
จำรึกเสำแปดเหลี่ยมเมืองลพบุรี จำรเป็นอักษรหลังปัลลวะ มีค ำแปลดังนี้ “บุญนี้
ขอถวำยแก่อุปัชฌำย์ อันข้ำพเจ้ำสีลปำละ สีลกุมำร และครอบครัว ได้ถวำยข้ำไว้แก่พระพุทธรูป
วุทร ได้เปลี่ยนเครื่องประดับ (ผ้ำห่ม) พระพุทธรูป พร้อมกับได้ซื้อวัว 1 คู่ เกวียน 1 เล่ม ถวำย
บุญอันได้ถวำยข้ำและวัว 1 เกวียน 1 แก่พระพุทธรูปวุทร ด้วยศรัทธำของสุมุง (ข้ำพระ) ผู้รักษำ
61
พระพุทธศำสนำจงได้รับผลบุญ” ข้อควำมในจำรึกหลักนี้และจำรึกวัดโพธิ์ (ร้ำง) ข้ำงต้น
แสดงให้เห็นธรรมเนียมของกลุ่มคนที่ใช้ภำษำมอญโบรำณในกำรท ำบุญ ซึ่งวิถีปฏิบัติหรือ
ควำมศรัทธำอย่ำงแรงกล้ำในพระพุทธศำสนำเช่นนี้ยังคงสืบทอดมำในสังคมของชำวมอญใน
ปัจจุบันด้วย
82