Page 75 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 75
เจดีย์จุลประโทนนี้มีมำกกว่ำสิ่งของที่ได้จำกกำรขุดแต่งวัดพระเมรุ ส่วนใหญ่เป็นชิ้นส่วน
พระพุทธรูปและลวดลำยปูนปั้นประดับศิลปะทวำรวดี (ภำพที่ 34)
ภำพที่ 34 ภำพถ่ำยเก่ำกำรขุดแต่งโบรำณสถำนเจดีย์จุลประโทน
(ที่มำ: พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระปฐมเจดีย์)
อำจกล่ำวได้ว่ำ กำรขุดแต่งโบรำณสถำนของศำสตรำจำรย์ดูปองต์และคณะได้ท ำให้
กำรศึกษำเรื่องศิลปะทวำรวดีเป็นที่รู้จักกันอย่ำงกว้ำงขวำง เมืองนครปฐมได้กลำยเป็นจุดสนใจ
อย่ำงแท้จริงของนักวิชำกำรมำนับตั้งแต่บัดนั้น ศำสตรำจำรย์ดูปองต์กล่ำวไว้ว่ำ งำนของท่ำน
มีเป้ำหมำยจะจัดล ำดับอำยุสมัย (chronological sequence) ของโบรำณสถำน ซึ่งในขณะนั้น
ท ำได้อย่ำงคร่ำวๆ คือ สมัยทวำรวดีมีอำยุรำวพุทธศตวรรษที่ 11 หรือ 12 จนถึงพุทธศตวรรษที่
18 แต่ท่ำนหวังว่ำจะมีกำรศึกษำเพิ่มเติมและได้ล ำดับอำยุสมัยที่แน่ชัดในโอกำสต่อไป
29
3.1.4 การค้นพบเหรียญเงินมีจารึก “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย”
อันที่จริงแล้วในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำนั้นยังไม่ได้พบจำรึกร่วมสมัยที่ระบุว่ำมีบ้ำนเมืองที่ชื่อ
ทวำรวดีอยู่ในเขตประเทศไทยจริงๆ เลย จนกระทั่งใน พ.ศ. 2507 นักวิชาการจึงสามารถ
ยืนยันได้ถึงการมีอยู่ของบ้านเมืองทวารวดี เพรำะมีกำรตีพิมพ์บทควำมเกี่ยวกับค ำอ่ำนและ
ค ำแปลจำรึกภำษำสันสกฤตบนเหรียญเงิน 2 เหรียญพบที่แหล่งโบรำณคดีเนินหินภำยในเมือง
นครปฐม โดยศำสตรำจำรย์เซเดส์ เป็นผู้อ่ำนจำรึกนี้ได้ ควำมว่ำ “ศฺรีทฺวารวตีศฺวรปุณฺย”
30
31
แปลว่า “บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี” หรือ “การท าบุญของเจ้าแห่งทวารวดี
69