Page 71 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 71

บทที่ 3
                                                    โบราณคดีสมัยทวารวดี :

                                 ที่มาของการศึกษา ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน และข้อมูลด้านเอกสาร


                              ค ำว่ำ “สมัยทวำรวดี” (Dvaravati period) นี้เป็นค ำที่นักวิชำกำรก ำหนดขึ้นเพื่อเรียก
                       ยุคสมัยแรกเริ่มทำงประวัติศำสตร์ โบรำณคดี และประวัติศำสตร์ศิลปะของประเทศไทย มีอำยุอยู่

                       ในช่วงรำวพุทธศตวรรษที่ 12 - 16 (คือตั้งแต่รำว พ.ศ. 1100 – 1600) หรือ 1,450–950 ปีมำแล้ว


                       3.1  ที่มาของการศึกษาโบราณคดีสมัยทวารวดี
                              3.1.1  จุดเริ่มต้นของการศึกษาเรื่องทวารวดี

                              กำรค้นคว้ำเกี่ยวกับบ้ำนเมืองหรือรัฐทวำรวดีนั้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2427 ภำยหลังจำก

                       กำรตีพิมพ์ผลงำนของ แซมมวล บีล (Samuel Beal) นักวิชำกำรด้ำนตะวันออกศึกษำ
                       ชำวอังกฤษ ซึ่งได้แปลบันทึกของภิกษุจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ พระเสวียนจั้ง (Xuan Zang) หรือ

                       พระถังซัมจั๋ง ที่เดินทำงจำริกไปตำมเส้นทำงสำยแพรไหมทำงบก (silk road) ผ่ำนดินแดนเอเชีย
                                                                 1
                       กลำงต่อไปยังอินเดียในช่วง พ.ศ. 1170 – 1188  (ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 12) โดยขณะที่
                       ท่ำนเดินทำงมำยังแคว้นสมตฏ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศบังคลำเทศ) ก็ได้กล่ำวถึงบ้ำนเมืองที่ชื่อ
                                            2
                       “โตโลโปตี” (To-lo-po-ti)  ดังข้อควำมว่ำ

                                       ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจำกนี้ไป ตำมฝั่งทะเลพ้นภูเขำและหุบเขำไปแล้ว
                                                             3
                                มีแคว้นชิดหลีต๋ำล้อ (Shi-li-ch’a-ta-lo)  ถัดไปทำงตะวันออกเฉียงใต้ตอนปำกอ่ำว
                                เรียกว่ำแคว้นเกียมลังเกีย (Kia-mo-lang-kia)  ต่อไปจากนี้ไปทางทิศตะวันออก
                                                                  4
                                เรียกว่าแคว้นโตโลโปตี (To-lo-po-ti) ต่อไปทิศตะวันออกคือแคว้นอี้เซี้ยน้ำโป้ล้อ
                                               5
                                (I-shang-na-pu-lo)  ต่อจำกนั้นไปทำงทิศตะวันออกคือแคว้นม่อออเจียมปอ
                                (Mo-ho-chen-po)  ซึ่งเรำ (ชำวจีน) เรียกว่ำ หลินยี่ (Lin-yi) ถัดไปทำงทิศตะวันตก
                                             6
                                เฉียงใต้เป็นแคว้นเย่นโมน่ำ (Yen-nio-na-cheu) ในดินแดน 6 แคว้นนี้กำรเดินทำง

                                ล ำบำกจะต้องผ่ำนภูเขำและห้วยธำร แม้(พระถังซัมจั๋ง)จะมิได้ไปถึงก็จริงแต่พอ
                                ทรำบขนบธรรมเนียมและขอบเขตอำณำจักร
                                                                 7


                                                             8
                              แซมมวล บีล เสนอว่ำ “โตโลโปตี”  คงตรงกับค ำว่ำ “ทวำรวดี” ในภำษำสันสกฤต  ที่
                                                                                                       9
                       แปลว่ำ “ซึ่งมีประตู” (which has gates)  หรือ “เมืองที่มีประตูเป็นก ำแพง”  หรือ “ประกอบด้วย
                                                                                       11
                                                         10
                       ประตู”  ภิกษุชำวจีนสมัยรำชวงศ์ถังอีกรูปหนึ่งที่บันทึกถึงทวำรวดีไว้คือ พระอี้จิง (I-Tsing)
                             12
                       ซึ่งจำริกไปยังอินเดียตำมเส้นทำงสำยแพรไหมทำงทะเล (maritime silk road) ในช่วง พ.ศ.








                                                               65
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76