Page 72 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 72
1214 - 1238 โดยอำศัยเรือของพ่อค้ำล่องผ่ำนมำยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แล้วแวะพัก
ที่ศรีวิชัย ก่อนเดินทำงไปถึงยังแผ่นดินอินเดีย พระอี้จิงบันทึกไว้ว่ำ
ดินแดนทำงตะวันออกของมหำวิทยำลัยนำลันทำ (ใกล้เมืองรำชคฤห์)
ไกลออกไป 500 โยชน์ เรียกว่ำ ปัจจันตประเทศฝ่ำยตะวันออก ณ ที่สุด (เขตแดน)
ถึงเทือกภูเขำด ำใหญ่ ซึ่งอำจเป็นพรมแดนฝ่ำยใต้ของตรุฟัน (ทิเบต) กล่ำวกันว่ำ
(เทือกเขำนี้) อยู่ทำงทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลจก (เสฉวน) อำจเดินไปถึง
ภูเขำนี้ได้ในเวลำเดือนกว่ำ ทำงใต้จำกนี้ไปมีบ้ำนเมืองจดทะเล เรียกว่ำ แคว้น
ชิดหลีต๋ำล้อ ทำงตะวันออกเฉียงใต้ของแคว้นนี้เป็นแคว้นลั่งเกียฉู่ ต่อมำทำง
ตะวันออกคือ แคว้นตุยโหโปตี้ ต่อไปทำงตะวันออกในที่สุดจะถึงแคว้นหลินยี่
13
(จำมปำ) พลเมืองของแว่นแคว้นเหล่ำนี้ทั้งหมดนับถือพระรัตนตรัยเป็นอย่ำงดี”
3.1.2 ข้อสันนิษฐานในระยะแรกเกี่ยวกับทวารวดี
ถึงแม้จะยังไม่มีหลักฐำนที่สนับสนุนว่ำเคยมีบ้ำนเมืองชื่อ “ทวำรวดี” ตั้งอยู่ในดินแดน
สยำมประเทศ แต่ใน พ.ศ. 2468 ศำสตรำจำรย์ ยอร์ช เซเดส์ ที่เข้ำมำท ำงำนที่รำชบัณฑิตยสภำ
ตั้งแต่ พ.ศ. 2460 ภำยใต้กำรก ำกับดูแลของสมเด็จฯ กรมพระยำด ำรงรำชำนุภำพ ก็ได้เรียบ
เรียงหนังสือชื่อ “เอกสำรเกี่ยวกับควำมเป็นมำของลำวภำคพำยัพ“ โดยท่ำนเสนอเป็นครั้งแรกว่ำ
เมืองละโว้หรือลพบุรีอาจเป็นเมืองหลวงของทวารวดี และโบรำณสถำนที่พระปฐมเจดีย์ก็
14
เป็นส่วนหนึ่งของสถำปัตยกรรมทวำรวดี
ในปีถัดมำศำสตรำจำรย์เซเดส์ได้แต่งหนังสือเรื่อง “ต ำนำนพระพิมพ์” โดยผนวกเอำ
พระพิมพ์พบที่พระปฐมเจดีย์ หรือ “พระพิมพ์แบบพระปฐม” เข้ำกับชื่อทวำรวดีในจดหมำยเหตุ
15
จีน โดยกล่ำวว่ำ “ข้าพเจ้าเข้าใจว่า พระพิมพ์สมัยพระปฐมจะต้องเป็นฝีมือของชาวทวารวดี”
ทั้งยังสันนิษฐำนอีกว่ำ “กรุงทวารวดีเก่านั้นบางทีจะอยู่ที่เมืองสุพรรณบุรีหรือเมือง
16
นครปฐมบัดนี้”
ในปี พ.ศ. 2469 สมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพก็เป็นคนไทยคนแรกที่ได้
น าเสนอเรื่องราวของพุทธศิลปะสมัยทวารวดี ในหนังสืออันทรงคุณค่าของงาน
โบราณคดีและประวัติศาสตร์ศิลปะของไทยเรื่อง “ต านานพระพุทธเจดีย์” ได้ทรงก าหนด
ว่าสมัยทวารวดีมีอายุประมาณ พ.ศ. 500 ทรงกล่าวว่า “พุทธเจดีย์สมัยทวารวดีมีอยู่ที่
17
เมืองนครปฐมมากกว่าแห่งอื่น เป็นพุทธเจดีย์ที่เก่าที่สุดในประเทศสยาม และเชื่อว่าได้
แบบอย่างมาแต่มคธราฐ” และทรงกล่าวด้วยว่า เมืองนครปฐมเป็นราชธานีของเมือง
18
ทวารวดี ส่วนชนชาติที่อาศัยอยู่ในขณะนั้นคือ พวกละว้า
19
66