Page 34 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 34
่
บทที 5
สรุป้ผลวิจัยในส่วนของ
การวิจัยเชิิงป้ริมาณ
5.1 ภาพรวมของการวิจัยเชิิงป้ริมาณ (Quantitative Research)
ทางคณะวิจัยได้ทำาการพัฒนาเครื�องมือแบบสำารวจ/แบบสอบถึามสุขภาวะองค์กร ทั�งระบบ
ออนไลน์และออฟไลน์ เพื�อเก็บข้อม้ลจากกลุ่มเป้าหมายทั�งหมด จำานวน 1,089 ราย ในภาคีเครือข่าย
จากฐานข้อม้ลภาคีเครือข่ายของ สสส. จำานวน 83 องค์กรภาคี ประกอบด้วยองค์กร ขนาดเล็ก
(Small) จำานวน 21 องค์กร (ตอบแบบสอบถึาม 140 ราย) ขนาดกลาง (Medium) จำานวน 33 องค์กร
(ตอบแบบสอบถึาม 419 ราย) และขนาดใหญ่ (Large) จำานวน 29 องค์กร (ตอบแบบสอบถึาม 530 ราย)
ทั�งนี� ได้มีการตรวจสอบคุณภาพเครื�องมือที�ใชี้ในงานวิจัยโดยทำาการทดสอบความเชีื�อมั�น
(Reliability) ของแบบสอบถึามจากข้อม้ลทั�งหมด จำานวน 1,089 ราย ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ�
แอลฟ่าของครอนบัค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซึ่ึ�งปกติค่าสัมประสิทธิ�แอลฟ่าของครอนบัค
จะมีค่าอย้่ระหว่าง 0 - 1 หากค่าเข้าใกล้ 1 มาก แสดงว่ามีค่าความเชีื�อมั�นในระดับส้ง ซึ่ึ�งจากการทดสอบ
พบว่า ทุกตัวแปรที�นำาไปใชี้ในการสำารวจมีค่ามากกว่า 0.70 จึงถึือได้ว่าแบบสอบถึามมีความสมบ้รณ์
และมีความเชีื�อมั�นของข้อม้ลจริง (Hair et al., 2010)
5.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลป้ัจจัยส่วนบุคคล
ผลการสำารวจกลุ่มเป้าหมายจำานวน 1,089 ราย พบว่า
• ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (64.1%)
• เกิดในชี่วงระหว่างปี พ.ศ. 2524 – 2542 หรืออายุ 43-25 ปี (60.9%)
• มีระดับการศึกษาอย้่ในระดับปริญญาตรี (47.2%)
• สถึานภาพโสด (49.1%)
• รายได้เฉลี�ยต่อเดือนน้อยกว่า 15,000 บาท (45.6%)
• รายได้ต่อครัวเรือนต่อเดือน 90,001 - 120,000 บาท (41.6%)
• มีรายรับพอๆ กับรายจ่าย (59.0%) และมีผ้้อย้่ภายใต้อุปการะ 2 - 3 คน (44.9%)
• ทำางานอย้่ในธุรกิจค้าส่ง/ค้าปลีก (39.7%) มีอายุงาน 4 เดือน – 3 ปี (29.3%)
• อย้่ในตำาแหน่งพนักงานประจำา (80.8%)
• ตารางการทำางานมีความยืดหยุ่น (70.4%)
• ไม่ส้บบุหรี� (87.6%)
• มีการดื�มแอลกอฮอล์นานๆ ครั�ง (44.2%)
• ไม่เสพสิ�งเสพติด (99.8%)
• เคยเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. (56.8%)
่
่
34 โครงการพัฒนาเครืองมือสนับสนุนการดำาเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยังยืน
Instrument Development Project for Supporting Sustainable Organizational Well-Being Promotion