Page 31 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 31

อันดับสองคือ มิติทางใจ MENTAL WELL-BEING ประกอบด้วยปัจจัย
                                        ด้านสุขภาพจิต  พบว่า องค์กรส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญกับสุขภาพจิต
                                        ของพนักงานพอ ๆ กับสุขภาพกาย ตามหลักธรรมชีาติของมนุษย์

                                        เราแล้วนั�น จิตใจกับร่างกายของมนุษย์มักจะส่งผลเกี�ยวเนื�องต่อกัน
                                        เสมอ เนื�องจากปัจจุบันพบว่า ประชีากรมีความเครียดเพิ�มมากขึ�น
                                        ทั�งจากชีีวิตส่วนตัวและชีีวิตการทำางาน ที�ส่งผลต่อสภาพจิตใจของ
             มิติทางใจ                  พนักงานในประสิทธิภาพการทำางานโดยตรง องค์กรจึงมีสวัสดิการ
                                        และความยืดหยุ่นในที�ทำางานที�พนักงานต้องการคือ พื�นที�ในการ
             MENTAL
             WELL-BEING                 พักผ่อน และหัวหน้างานที�เปิดใจรับฟัง เข้าใจปัญหาของพนักงาน
                                        สามารถึเป็นที�ปรึกษาให้พนักงานร้้สึกมีที�พึ�งทางจิตใจและร้้สึก
                                        สบายใจมากขึ�น เพื�อให้พนักงานมีพฤติกรรม ความร้้สึกนึกคิดเป็นไป
                                        ในเชีิงบวก รวมถึึงการสนับสนุนการสร้างกิจกรรม Mental Health

                                        และ Well-Being ให้กับพนักงานในองค์กร ซึ่ึ�งเป็นประโยชีน์มาก
                                        สำาหรับเรื�องการบริหารความเครียดในที�ทำางาน










                                        อันดับสามคือ มิติทางปัญญา INTELLECTUAL WELL-BEING
                                        ประกอบด้วยปัจจัยด้านสุขภาวะทางการเงิน (Financial Well-being)
                                        และการเรียนร้้และพัฒนา (Learning & Development) พบว่า องค์กร
                                        ส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพของการทำางาน
                                        และการได้รับผลตอบแทนที�เป็นธรรม ตลอดจนทำาให้พนักงานสามารถึ

             มิติทางป้ัญ่ญ่า            บริหารจัดการเงินส่วนตัวและครอบครัวได้อย่างสมดุล โดยมีการให้ความร้้
                                        เรื�องการบริหารจัดการการเงิน เชี่น การก้้เงินตามสิทธิ�ของพนักงาน
             INTELLECTUAL
             WELL-BEING                 การบริการจัดการหนี�บัตรเครดิต  รวมถึึงการให้องค์ความร้้เกี�ยวกับ
                                        หลักการออมเงิน อีกทั�ง องค์ยังมีสวัสดิการที�สนับสนุนทุนการศึกษา
                                        ให้กับบุตรของพนักงาน เพื�อพัฒนาสุขภาวะทางการเงินของพนักงาน
                                        ซึ่ึ�งการพัฒนาตนเองและการสนับสนุนพนักงานมีความสัมพันธ์กันใน
                                        วัฒนธรรรมแห่งการเติบโต  หรือการพัฒนาตนเองของพนักงานนั�น
                                        เป็นกุญแจสำาคัญที�ทำาให้พนักงานมีส่วนร่วมและผ้กพันกับองค์กร ตลอดจน
                                        เป็นแรงจ้งใจในการทำางาน รวมถึึงสร้างผลกำาไรได้อย่างมั�นคงและยั�งยืน
                                        มากขึ�น เมื�อพนักงานร้้สึกผ้กพันกับองค์กร พนักงานยิ�งมีแนวโน้มที�จะบอก
                                        กับคนอื�นๆ ว่าพวกเขารักที�ทำางานของตนมากแค่ไหน การพ้ดถึึงองค์กร

                                        ในทางที�ดีนี�เองที�จะชี่วยเสริมสร้างชีื�อเสียงองค์กรของคุณ ลดอัตรา
                                        การขาดงานและการลาออกของพนักงาน จนนำาไปส้่การเติบโตของรายได้
                                        และการรักษาพนักงานไว้กับองค์กรอย่างยั�งยืน






                                                                           วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล   31
       ลิขสิทธิ ์  © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย  College of Management Mahidol University
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36