Page 32 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 32

อันดับสี�คือ มิติ ทาง สังคมสิ�งแวดล้อม SOCIO-ENVIRONMENTAL
                                         WELL-BEING ประกอบด้วยปัจจัยความรับผิดชีอบต่อสิ�งแวดล้อม
                                         (Environment) ความรับผิดชีอบต่อสังคม (Society) และธรรมาภิบาล

                                         (Good Governance) พบว่า องค์กรส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญกับความ
                                         ยั�งยืนและการบริหารอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ให้มีการปฏีิบัติงาน

               มิติทางสังคม              หรือการบริหารที�ดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สร้างความเป็นธรรม
                                         แก่พนักงานและผ้้รับบริการอย่างทั�วถึึง สามารถึตรวจสอบได้ทุกเรื�อง
               สิ�งแวดล้อม               และทุกกระบวนการ สร้างจิตสำานึกในการปฏีิบัติหน้าที�ในตำาแหน่งด้วย

               SOCIO-ENVIRONMENTAL       ความซึ่ื�อสัตย์ สุจริต ผ่านการสื�อสารหรือการประชีาสัมพันธ์เผยแพร่
               WELL-BEING
                                         นโยบายและความร้้ด้านความโปร่งใสในการบริหารงานไปส้่พนักงานใน

                                         องค์กร รวมถึึงกิจกรรมที�ส่งเสริมการใชี้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
                                         กิจกรรมการฟื�นฟ้สภาพแวดล้อมทางธรรมชีาติ กิจกรรมการส่งเสริม
                                         คุณชีีวิตของสภาพสังคม ชีุมชีน ในบริบทที�ตั�งใกล้เคียง และการบริหาร
                                         ทรัพยากรบุคคลอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม เพื�อเพิ�มโอกาสสร้าง
                                         ผลตอบแทนที�ดีสมำ�าเสมอในระยะยาว










                    จากการเก็บข้อม้ลเชีิงคุณภาพจากกลุ่มตัวอย่างทั�ง 32 องค์กร พบว่า ปัจจัย 4 มิติการพัฒนา
             ส้่องค์กรสุขภาวะอย่างยั�งยืน การให้ความสำาคัญในแต่ละปัจจัยเป็นองค์ประกอบที�ส่งผลให้พนักงานเกิด
             ความพึงพอใจในงานและความผ้กพันต่อองค์กร ที�เกิดจากการมีส่วนร่วมของพนักงานและส่งผลต่อ
             ความสำาเร็จขององค์กรอย่างชีัดเจน เพราะ “พนักงาน” คือส่วนสำาคัญในการขับเคลื�อนองค์กรไปข้างหน้า

             ทำาให้ผลลัพธ์การทำางานดีขึ�น พนักงานยินดีที�พัฒนาตนเองและทำางานอย่างเต็มประสิทธิภาพ อัตรา
             การลาออกน้อยลง เนื�องจากพนักงานทำางานแบบมีความสุขในระยะยาว ผ่านการเปิดโอกาสให้พนักงานแสดง
             ความเป็นตัวเอง การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์กรเพื�อสร้าง ความสัมพันธ์ที�ดีระหว่างหัวหน้างานและ
             เพื�อนร่วมงาน (Supervisor & Colleague) มีการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการ (Income & Benefit) หรือ
             การให้รางวัลยกย่องพนักงานอย่างเหมาะสม  อย่างไรก็ตามการมีส่วนร่วมอาจเกิดจากความเต็มใจหรือ
             พึงพอใจหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้วอาจหมายถึึงความยินดีในการกระทำาหรือร่วมมือเสียมากกว่า การ
             มีส่วนร่วมกับองค์กรที�ดีนั�นย่อมเกิดจากความพึงพอใจเป็นพื�นฐานแรก เมื�อเกิดความพึงพอใจก็จะนำาส้่

             การมีส่วนร่วมตลอดจนความผ้กพันกับองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Employee Engagement) และเกิด
             การทำางานหรือทำาประโยชีน์ต่างๆ ให้องค์กรอย่างมีศักยภาพได้เชี่นกัน และการมีส่วนร่วมต่อองค์กรที�ดี
             นั�นย่อมทำาให้พนักงานร้้สึกเป็นส่วนหนึ�งขององค์กรได้ดียิ�งขึ�น ตลอดจนร้้สึกเป็นเจ้าขององค์กรร่วมกัน
             และร่วมผลักดันให้องค์กรส้่ความสำาเร็จอย่างเต็มที�ด้วยกัน











                                                                               ่
                             ่
      32     โครงการพัฒนาเครืองมือสนับสนุนการดำาเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยังยืน
             Instrument Development Project for Supporting Sustainable Organizational Well-Being Promotion
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37