Page 5 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 5

บทนำา
















                    สำานักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร (สำานัก 8) สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
            ได้ดำาเนินงานส่งเสริมงานสุขภาวะในองค์กรโดยใชี้แนวคิดองค์กรสุขภาวะ ที�มุ่งดำาเนินงานกับกลุ่มเป้าหมาย
            หลักคือ “คนทำางานในองค์กร” ที�ถึือเป็นบุคคลสำาคัญและเป็นกำาลังหลักของทั�งครอบครัว องค์กร ชีุมชีน และ
            สังคม การสร้างความสุขในที�ทำางาน นับว่าเป็นปัจจัยสำาคัญในการบริหารองค์กร มุ่งเน้นให้บุคลากรทุกคน
            ในองค์กร มีความสุขในการทำางาน ความสุขที�เกิดขึ�นนั�นก่อให้เกิดกระบวนการทางความคิด ทำาให้งานที�ได้

            รับมอบหมายมีประสิทธิภาพมากขึ�น ลดความตึงเครียดจากการทำางาน สภาพแวดล้อม รวมทั�งลดความขัดแย้ง
            ภายในองค์กร ความสุขที�เกิดขึ�นจากการทำางานเปรียบเสมือนนำ�าหล่อเลี�ยงให้พฤติกรรมคนปรับเปลี�ยน
            และพัฒนาในแนวโน้มที�ดีขึ�น โดยใชี้ความสุขพื�นฐานแปดประการ (Happy 8) เป็นแนวทางในการบริหาร
            จัดการชีีวิตให้มีความสุข อย่างยั�งยืน สร้างทัศนคติบวกต่อมุมมองในการดำาเนินชีีวิต การอย้่ร่วมกับผ้้อื�น
            การรับผิดชีอบต่อสังคม เป็นสมาชีิกที�ดีต่อครอบครัว องค์กร และสังคม โดยมีความสุขที�แท้จริงบนพื�นฐาน
            ความสุขแปดประการที�สมดุลกับชีีวิต



                    ในชี่วงที�ผ่านมา ตั�งแต่ปี พ.ศ. 2553 เครือข่ายองค์กรสุขภาวะจำานวนมากได้นำาแนวคิดและแนวทาง
            การส่งเสริมองค์กรสุขภาวะไปประยุกต์ใชี้ แต่การดำาเนินงานส่งเสริมยังมีข้อจำากัดเรื�องของเครื�องมือ ในการ
            ประเมินและวัดผลความสำาเร็จในแง่มุมของระดับความสุขในการทำางานที�เพิ�มขึ�นจากการนำาแนวคิดองค์กร
            สุขภาวะไปใชี้ เนื�องจากเครื�องมือที�มีอย้่เดิมถึ้กพัฒนาขึ�นมานานกว่าสิบปี จึงไม่สามารถึครอบคลุมมิติต่าง ๆ
            ที�มีผลต่อสุขภาวะองค์กรได้ในปัจจุบันที�บริบทต่าง ๆ มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมากซึ่ึ�งเป็นชี่องว่างทั�ง
            ในภาคทฤษฏีีและปฏีิบัติ อีกทั�งเครื�องมือดังกล่าวยังขาดการเชีื�อมโยงส้่ผลสำาเร็จอย่างยั�งยืนขององค์กร
            ภาคเอกชีนจึงทำาให้เครื�องมือที�มีอย้่เดิมนี�ไม่ได้รับความนิยมในระดับที�กว้างขวางมากนัก
            ทั�งในระดับประเทศและระดับนานาชีาติ  จึงเป็นที�มาของการพัฒนาเครื�องมือหรือแบบประเมินผลการดำาเนินงาน
            องค์กรสุขภาวะแบบใหม่ให้มีความทันสมัย ตอบสนองความต้องการใชี้ขององค์กรที�สนใจนำาไปใชี้งานจริง

            อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั�งยังสามารถึชี่วยสร้างแรงจ้งใจให้องค์กรภาคเอกชีนเกิดความ
            ต้องการที�จะนำาเครื�องมือหรือแบบประเมินผลการดำาเนินงานองค์กรสุขภาวะที�จะพัฒนาขึ�นใหม่นี�ไปใชี้
            ประโยชีน์ในการพัฒนาองค์กรสุขภาวะอย่างยั�งยืน และมีการขยายผลอย่างกว้างขวางได้อย่างแท้จริง


                    ดังนั�น  การศึกษาวิจัย:  “การพัฒนาเครื�องมือสนับสนุนการดำาเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะใน
            องค์กรอย่างยั�งยืน” จึงก่อกำาเนิดขึ�น ซึ่ึ�งเป็นการศึกษาต่อยอดที�จะปิดชี่องว่างทั�งในภาคทฤษฏีีและปฏีิบัติ
            ในการเสริมสร้างสุขภาวะในองค์กรเชีิงกลยุทธ์เพื�อการส่งเสริมสุขภาพที�ยั�งยืนในประเทศไทย ที�สามารถึ




                                                                           วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล    5
       ลิขสิทธิ ์  © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย  College of Management Mahidol University
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10