Page 9 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 9
วัตถุุป้ระสงค์ระดับโครงการ
1. เพื�อศึกษาการวัดสุขภาวะองค์กรแบบบ้รณาการเพื�อความยั�งยืน และพัฒนาเครื�องมือ
ในการวัดสุขภาวะองค์กร
ในร้ปแบบสำารวจโดยใชี้แบบสอบถึามสำาเร็จร้ปออนไลน์ (Online Questionnaire Survey) ในภาคเอกชีน
ทั�งในระดับบุคคลและองค์กร อีกทั�งยังเชีื�อมโยงกับยุทธศาสตร์การทำางานแผนการสร้างเสริมสุขภาวะ
ในองค์กรของ สสส. ใน 4 ส่วน คือ
1) สร้างผลกระทบ (Impact) โดยเครื�องมือที�พัฒนาขึ�นจะชี่วยให้องค์ภาคธุรกิจสามารถึตรวจสอบ
สุขภาวะขององค์กรตนเองในมิติต่าง ๆ ได้ และสามารถึนำาไปปรับปรุงพัฒนาเพื�อมุ่งส้่ความสำาเร็จ
อย่างยั�งยืนได้ต่อไป
2) การขยายผล (Scale up) การพัฒนาเครื�องมือชีี�วัดที�เหมาะสมและได้รับการยอมรับ จะทำาให้
เกิดการตอบรับจากองค์กรภาคธุรกิจในวงกว้างและขยายผลใชี้งานได้อย่างต่อเนื�องในระยะยาว
3) สอดคล้อง 7+1 (Alignment) โครงการพัฒนาเครื�องมือตัวชีี�วัดนี� จะสามารถึชี่วยวิเคราะห์ข้อม้ล
โดยเฉพาะในส่วนที�เกี�ยวข้องกับสุขภาพกายและสุขภาพจิตของพนักงานในองค์กร อันมีผลสำาคัญ
ต่อสุขภาวะที�ดีขององค์กร ซึ่ึ�งผลการวิเคราะห์จะได้ชี่วยให้ผ้้บริหารและผ้้ที�เกี�ยวข้องในแต่ละองค์กร
สามารถึกำาหนดแนวทางการพัฒนาปรับปรุงสุขภาวะให้ดีขึ�นได้ต่อไป
4) ความยั�งยืน (Sustainability) ด้วยเครื�องมือชีี�วัดที�เน้นผลลัพธ์เชีื�อมโยงส้่เป้าหมายความสำาเร็จ
อย่างยั�งยืนขององค์กรภาคธุรกิจ จึงทำาให้เกิดแนวโน้มในระดับส้งที�จะทำาให้องค์กรภาคธุรกิจ
ก้าวเข้าส้่ความยั�งยืนอันเป็นมาตรฐานในระดับสากลในระยะยาว
เพื�อพัฒนาตัวชีี�วัด / ตัวแปร 3. เพื�อพัฒนาแบบสอบถึามที�มีความถึ้กต้องเชีื�อถึือได้
2. (องค์ประกอบ) โดยอิงจากแนวคิดเพื�อความยั�งยืนที�เกี�ยวข้อง
โดยใชี้กรอบการวิจัยจาก Conceptual กับการสร้างความสุขและสุขภาวะที�สอดคล้องกับ
Framework ที�จะมีการบ้รณาการ เป้าหมายการพัฒนาที�ยั�งยืน (UN SDGs) ของ
องค์ความร้้ที�สำาคัญในการวัดสุขภาวะ องค์กรในบริบทของประเทศไทย ในร้ปแบบ
องค์กรและต่อยอดงานวิจัยที�เกี�ยวข้องกับ การสำารวจและแบบสอบถึามสำาเร็จร้ปออนไลน์ (Online
การพัฒนาสุขภาวะองค์กรในประเทศไทย Questionnaire Survey) สำาหรับองค์กรเอกชีน
และนานาชีาติ เพื�อให้สอดคล้อง 7+1 ทั�วไป เพื�อทดสอบและประเมินองค์กรสุขภาวะเบื�องต้น
(Alignment) อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรวม งานวิจัยนี�จะสร้างผลกระทบ (Impact)
และประสิทธิผล และเป็นการพัฒนา ให้กับองค์กรในหลากหลายมิติ รวมถึึงความยั�งยืน
แบบสอบถึามให้มีความถึ้กต้องและ น่าเชีื�อ (Sustainability) และการใชี้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ถึือตามหลักสากล โดยใชี้การวิเคราะห์และ (Innovation) ให้เข้าถึึงง่ายและเป็นประโยชีน์ในวงกว้าง
สถึิติขั�นส้ง
4. เพื�อศึกษาและวิเคราะห์องค์กรที�เป็นองค์การต้นแบบ/ตัวอย่าง Best Practice
ขององค์กรภาคเอกชีน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ในประเทศไทย
รวมถึึงสถึานประกอบการ/บริษัทเอกชีน ที�เป็นภาคีเครือข่ายและเป็นส่วนสำาคัญในการขับเคลื�อน
ภาคเศรษฐกิจและสังคมไทย โดยเน้นการนำาเครื�องมือวิจัยสุขภาวะองค์กรใหม่นี�ไปก่อให้เกิดการ
ขยายผล (Scale up) และจัดงานสัมมนาประชีาสัมพันธ์/ประชีุมเสวนา Sustainable Organizational
Well-Being Forum ระหว่างวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล สำานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่ายเชีิงนโยบาย พร้อมนำาเสนอผลงานเรื�องการ
สร้างเสริมสุขภาวะในองค์กร เพื�อการสร้างผลกระทบ (Impact) การขยายผล (Scale up) และความ
ยั�งยืน (Sustainability) เพื�อส่งเสริมให้เกิดการใชี้เครื�องมือและพัฒนาองค์กรสุขภาวะอย่างกว้างขวาง
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 9
ลิขสิทธิ ์ © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย College of Management Mahidol University