Page 14 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 14

แนวคิดการสร้างสุขภาวะ





                 แนวคิดการสร้างสุขภาวะให้เกิดในองค์กร   สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เมื�อต้นปี
            มีมาชี้านาน  เนื�องจากคนใชี้ชีีวิตส่วนใหญ่ใน  พ.ศ.  2549  พบว่า  คุณภาพชีีวิตโดยรวมของ
            การทำางาน  ผลการสำารวจภาวะการทำางานของ แรงงานไทยยังอย้่ในสภาวะที�น่าเป็นห่วง โดยเฉพาะ
            ประชีากร ประจำาเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2566 พบว่า   สภาพการดำาเนินชีีวิตและการทำางาน เหตุผลหนึ�ง
            มีจำานวนผ้้ที�มีอายุตั�งแต่ 15 ปีขึ�นไป จำานวน 58.96   คือ  การที�แรงงานไทยขาดความร้้  ในการใชี้ชีีวิต
            ล้านคน เป็นผ้้ที�อย้่ในกลุ่มแรงงานหรือพร้อมจะทำางาน  ร้ปแบบสังคมเมืองอุตสาหกรรมและบริการ เนื�องจาก
            กว่า 40.67 ล้านคน ซึ่ึ�งประกอบด้วย ผ้้มีงานทำา 40.24  แรงงานส่วนมากมาจากภาคเกษตรกรรม  ทำาให้

            ล้านคน ผ้้ว่างงาน 0.40 ล้านคน และผ้้ที�รอฤด้กาล   ไม่เข้าใจวิถึีการดำาเนินชีีวิตแบบสังคมเมือง โดยเฉพาะ
            0.03 ล้านคน ส่วนผ้้ที�อย้่นอกกลุ่มแรงงานหรือผ้้ การใชี้ชีีวิตที�เกี�ยวข้องกับอบายมุข สิ�งฟุ่มเฟือยต่าง ๆ
            ที�ไม่พร้อมทำางาน 18.28  ล้านคน (สำานักงานสถึิติ  อันนำาไปส้่การมีคุณภาพชีีวิตที�แย่ลง ซึ่ึ�งมีผลโดยตรง
            แห่งชีาติ, 2566) จากการสำารวจคุณภาพชีีวิตแรงงาน ต่อประสิทธิภาพของประชีาชีนในการพัฒนาประเทศ
            ไทย โดยสำานักวิจัยเอแบคโพล ร่วมกับสำานักงาน ไปส้่ความเจริญก้าวหน้า



            นิยามคำาว่า “สุขภาวะในองค์กร”





             จากการศึกษางานวิจัยที�เกี�ยวข้อง มีผ้้วิจัยให้ความหมายของคำาว่า “องค์กรสุขภาวะ” ดังนี�

                     1) องค์กรที�สามารถึบรรลุถึึง พันธกิจที�ตั�งไว้พร้อมกับมีความสามารถึในการเติบโตและพัฒนา
             บุคลากรในองค์กรไปพร้อม ๆ กัน (Dive, 2004)
                     2)  องค์กรที�มีสภาพแวดล้อมการทำางานที�เอื�อประโยชีน์ต่อสุขภาพของพนักงานและผล
             การปฏีิบัติงานที�ส้งขึ�น (Lowe, 2004)
                     3)  องค์กรที�มีความสามารถึในการปฏีิบัติงานได้ดี  พนักงานมีจุดมุ่งหมายร่วมกับองค์กร
             โดยมุ่งเน้นการปรับกระบวนการทำางานใหม่  และมีแนวทางการปฏีิบัติงานที�สนับสนุนซึ่ึ�งกันและกัน
             (Smet, Loch, & Schaninger, 2007)





                    นอกจากคำาว่า “องค์กรสุขภาวะ” แล้ว เอกสาร รายงานต่าง ๆ ยังมีการใชี้คำาที�คล้ายคลึงกัน ได้แก่

            สุขภาวะในที�ทำางาน (Healthy Workplace) การกล่าวถึึงคำานี�ส่วนมากมักให้ความสนใจเฉพาะสิ�งแวดล้อม
            ทางกายภาพในงาน (มีขอบเขตในความปลอดภัย และภาวะสุขภาพที�ดีจากการทำางานแบบดั�งเดิม การเผชีิญ
            กับอันตรายของเทคโนโลยี ชีีวภาพ สารเคมีและทางกายภาพ) สำาหรับความหมายที�กว้างมากขึ�นจะรวมปัจจัย
            การปฏีิบัติทางสุขภาพ (การดำาเนินชีีวิตประจำาวัน) ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (วัฒนธรรม ในสถึานที�ทำางาน
            และระบบการทำางานในองค์กร) และการเชีื�อมโยงกับชีุมชีน เวลา (Burton, 2010)












                             ่
                                                                               ่
      14     โครงการพัฒนาเครืองมือสนับสนุนการดำาเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยังยืน
             Instrument Development Project for Supporting Sustainable Organizational Well-Being Promotion
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19