Page 17 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 17

ความสุขมวลรวมป้ระชิาชิาติ


                         (Gross National Happiness : GNH)






                 การประเมินความสุขและสุขภาวะขององค์กรจากความสุขมวลรวมประชีาชีาติของประเทศภ้ฏีาน
                    (Gross National Happiness – GNH-Based Organizational Well-Being Survey)







                                      Living                                 แนวคิดการวัด GNH นั�น ริเริ�มโดย
                       Cultural     Standards                         สมเด็จพระราชีาธิบดีจิกมี  ซึ่ิงเย  วังชีุก
                      Resilience &                Education
                      Promotion                                       รัชีกาลที� 4 แห่งราชีอาณาจักรภ้ฏีาน เมื�อ
                                                                      พ.ศ.  2515  โดยพระองค์มีดำาริว่าแนวคิด
                                                                      GDP  อาจไม่ได้สะท้อนความเป็นอย้่ที�ดี
                 Good                                                 ของประชีาชีน จึงรับสั�งให้ออกแบบดัชีนี
               Governance          9 Domains of          Health
                                  Gross National                      ชีี�วัดใหม่ตามกฎีหมายเก่าแก่ของภ้ฏีานที�ว่า
                                    Happiness                         “หากรัฐบาลไม่สามารถึสร้างความสุขให้

                                                                      กับประชีาชีนได้ รัฐบาลก็ไม่มีความจำาเป็น
               Psychological                                          ที�จะต้องดำารงอย้่”  (Suriyankietkaew
                Well-being                           Environment
                                                                      &  Kim,  2017)  แนวคิดเรื�อง  GNH  ได้มี
                                                                      งานวิจัยอ้างอิงหลายงานเชี่น  งานวิจัย
                            Time Use       Community                  ของ  Facchinetti  &  Siletti  (2022)
                                            Vitality
                                                                      Well-Being Indicators: A Review and
                                                                      Comparison in the Context of Italy
                                                                      และงานวิจัยของ  Russell  &  Daniels

             ภาพที� 2.3 แนวคิดการประเมินความสุขและสุขภาวะขององค์กรจาก   (2018) Measuring Affective Well-Being
             ความสุขมวลรวมประชีาชีาติของประเทศภ้ฏีาน  (Gross  National   at Work Using Short-Form Scales:
              Happiness – GNH-based Organizational Well-being Survey)
                                                                      Implications for Affective Structures
                                                                      and Participant Instructions นอกจากนี�
             Suriyankietkaew  (2021)  ได้ศึกษาปัจจัยที�ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะที�ดีและความสุขภายในองค์กร

             เพื�อความยั�งยืนในองค์กรเอกชีน  และมีการศึกษาต่อยอดต่าง  ๆ  โดยวิเคราะห์ปัจจัยตามแนวคิด
             Gross National Happiness, Sustainable Well-Being และ Sustainability Performance Outcomes
             ซึ่ึ�งมี 9 องค์ประกอบ ตามร้ปภาพที� 2.3


             หมายเหตุุ. GNH Centre Bhutan (n.d.). GNH Centre Bhutan Website. http://www.gnhcentrebhutan.org/about/; GNH Centre Thailand
             (n.d.). GNH Centre Thailand Website. http://www.gnhcentrethailand.com/gnh-centre-thailand/; Suriyankietkaew, S. & Kim,
             J. (2017, November 7- 9). Doing Business with Compassion: Integrating GNH into B.Grimm Group in Thailand. Proceedings of
             the 7th International Conference on Gross National Happiness on a Theme: “GNH of Business”, Thimphu, Bhutan.;
             Suriyankietkaew, S. (2021). Development of GNH-based Organizational Well-being Survey. GNH Centre Thailand. College
             of Management Mahidol University.





                                                                           วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล   17
       ลิขสิทธิ ์  © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย  College of Management Mahidol University
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22