Page 21 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 21
แนวคิดการพัฒนาที�ยั�งยืนจะไม่มีความสำาคัญ หากโลกไม่ได้กำาลังเผชีิญปัญหาธรรมชีาติ
และสิ�งแวดล้อม ที�กำาลังถึ้กทำาลายลงไปอย่างรุนแรงและต่อเนื�องตามการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ เนื�องจากจำานวนประชีากรที�เพิ�มขึ�นและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การใชี้ทรัพยากรธรรมชีาติอย่างสิ�นเปลืองและเกินความจำาเป็น และแนวคิดการดำาเนินธุรกิจ
อย่างยั�งยืนตามหลัก
แผนการขับเคลื�อนเป้าหมายการพัฒนา
ที�ยั�งยืนสำาหรับประเทศไทย ได้ร่วมกันขับเคลื�อน
การพัฒนาทั�งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ�งแวดล้อม
อันส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าของประเทศ ในการ
ดำาเนินการตามวาระการพัฒนาที�ยั�งยืน ค.ศ. 2030
ให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายเพื�อความยั�งยืน
ในระดับนานาชีาติ มีงานวิจัยที�อ้างถึึงทฤษฎีีนี�
หลากหลาย เพราะเป็นตัวชีี�วัดระดับนานาชีาติ เชี่น
งานวิจัยของ Dimson, Marsh, & Staunton (2020)
Divergent ESG ratings งานวิจัยเหล่านี�ได้เชีื�อมโยง
กลยุทธ์กับการพัฒนาอย่างยั�งยืนในระดับนานาชีาติ
ให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายเพื�อความยั�งยืน
ในระดับนานาชีาติ โดยเฉพาะอย่างยิ�งเป้าหมาย
เพื� อความยั�งยืนขององค์การสหประชีาชีาติ
(The United Nations Sustainable Development
Goals - UN SDGs)
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 21
ลิขสิทธิ ์ © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย College of Management Mahidol University