Page 16 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 16
แนวคิดสำาคัญ่ต่อไป้คือแนวคิดการป้ระเมิน
คุณภาพชิีวิต (Quality Work Life: QWL)
การประเมินคุณภาพชีีวิตในการทำางาน (Quality of Work Life - QWL) มักถึ้กนำาเสนอผ่าน
แบบวัดและแบบสอบถึามที�ชี่วยในการวัดและประเมินสภาพความพึงพอใจและคุณภาพชีีวิตของพนักงาน
ในสถึานที�ทำางาน ดังนั�น 13 ปัจจัยที�ถึ้กใชี้ในการประเมินคุณภาพชีีวิตในการทำางาน อาจแตกต่างกันไป
ขึ�นอย้่กับแบบสอบถึามหรือวิธีการที�ใชี้ แต่ละองค์กรอาจเลือกและปรับแต่งปัจจัยตามความเหมาะสมของ
สถึานการณ์และวัตถึุประสงค์ของการวิเคราะห์ ปัจจุบันมีผ้้ให้คำานิยามในความหมายของคุณภาพชีีวิตในการ
ทำางานไว้มากมาย จากสรุปข้างต้น คุณภาพชีีวิตในการทำางาน หมายถึึง ความสุขสบายของร่างกายและจิตใจ
ที�ได้รับการตอบสนองความต้องการปัจจัยพื�นฐานสำาหรับการดำารงชีีวิต ซึ่ึ�งจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจ
และความผ้กพันต่อองค์กรในอนาคต
Adequate and Fair Compensation
Opportunity for Growth
Safe and Healthy Working Condition
Social Integration & Cohesiveness
Work & Total Life Space
Supervisor
Quality of Life
Human Progress Capabilities
Constitutionalism Justice & Equity
Reward & Recognition
Job Security
Autonomy and Control
Participation in Decision Making
Communication
ภาพที� 2.2 กรอบแนวคิดการประเมินคุณภาพชีีวิต (Quality Work Life : QWL)
หมายเหตุุ. Elizur, D., & Shye, S. (1990). Quality of Work Life and Its Relation to Quality of Life. Applied Psychology, 39(3),
275-291.; Martel, J.P., & Dupuis, G. (2006). Quality of Work Life: Theoretical and Methodological Problems, and Presentation of
a New Model and Measuring Instrument. Social Indicators Research, 77(2), 333-368.; Krueger, P., Brazil, K., Lohfeld, L., Edward,
H.G., Lewis, D., & Tjam, E. (2002). Organization Specific Predictors of Job Satisfaction: Findings from a Canadian Multi-site
Quality of Work Life Cross-sectional Survey. BMC Health Services Research, 2(1), 1-8.
่
่
16 โครงการพัฒนาเครืองมือสนับสนุนการดำาเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยังยืน
Instrument Development Project for Supporting Sustainable Organizational Well-Being Promotion