Page 13 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 13

่
            บทที 2







            วรรณกรรม


                                            ่ ่
            และงานวิจัยทีเกียวข้อง








                    การศึกษานี�เป็นการพัฒนาต่อยอดงานวิจัย แนวคิด ทฤษฎีี และวรรณกรรมที�เกี�ยวข้องกับสุขภาวะ
            ในองค์กรในประเทศไทยและนานาชีาติ ที�ยังขาดการบ้รณาการในการพัฒนาตัวชีี�วัดและเครื�องมือประเมิน
            สุขภาวะองค์กรอย่างยั�งยืนให้มีความทันสมัย  ถึ้กต้อง  และเที�ยงตรงตามหลักวิชีาการในระดับสากล
            ซึ่ึ�งสามารถึปิดชี่องว่างและตอบโจทย์ทั�งในภาคทฤษฎีีและปฏีิบัติที�เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย
                    โครงการวิจัยนี�ได้ศึกษากรอบแนวคิด  ทฤษฎีี  การประเมินคุณภาพชีีวิต  สุขภาวะในองค์กร
            ความสุขในองค์กรที�เกี�ยวข้องจากการทบทวนวรรณกรรมและการศึกษาวิจัยในระดับชีาติและนานาชีาติกว่า

            570 บทความ/งานวิจัย ซึ่ึ�งสามารถึสรุปกรอบแนวคิด ทฤษฎีี ที�แบ่งออกเป็น 5 แนวคิดหลัก ดังนี�
                       1         แนวคิดการประเมินความสุขบุคลากร กระทรวงสาธารณสุข (Happinometer)


                                 และการประเมินสุขภาวะองค์กร (Happy Public Organization Index: HPI)




                       2         แนวคิดการประเมินคุณภาพชีีวิต (Quality Work Life: QWL)







                       3         แนวคิดการประเมินความสุขและสุขภาวะขององค์กรจากความสุขมวลรวม


                                 ประชีาชีาติของประเทศภ้ฏีาน (Gross National Happiness – GNH-Based
                                 Organizational Well-Being Survey)

                      4          แนวคิดความผ้กพันที�พนักงานมีต่องานและองค์กร (Employee Engagement


                                 Survey) เชี่น AON HEWITT/Kincentric’s Model of Employee Engagement



                       5         แนวคิดและความเชีื�อมโยงกับมาตรฐานและกรอบการพัฒนาอย่างยั�งยืน


                                 ในประเทศไทย และในระดับสากล เชี่น การประเมินด้านความยั�งยืนและผลกระทบ
                                 ทาง สิ�งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) ธรรมาภิบาล (Governance)
                                 และเป้าหมายเพื�อการพัฒนาอย่างยั�งยืนขององค์การสหประชีาชีาติ (UN SDGs)






                                                                           วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล   13
       ลิขสิทธิ ์  © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย  College of Management Mahidol University
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18