Page 39 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 39

เชิงอรรถบทที่ 1
                       1
                         ดูการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาโบราณคดีและ
              ประวัติศาสตร์ศิลปะของประเทศไทยได้ใน หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะใน
              ประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 11 (กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
              2539) ; มยุรี วีระประเสริฐ, “ หลักฐานทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทาง
              โบราณคดีในประเทศไทย,” ใน โบราณคดีและประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ฉบับ
              คู่มือครูสังคมศึกษา (กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย
              ศิลปากร, 2545), 14.
                       2
                         คือในรัชกาลของจักรพรรดิถังไท่จง ซึ่งจะได้กล่าวถึงในบทที่ 3
                       3
                          ผู้เขียนยึดตามฉบับพิมพ์ของ แซมมวล บีล  และค าแปลของมานิต
              วัลลิโภดม
                       4
                         คือ “ศรีเกษตร” ในประเทศเมียนมา
                       5
                          ยังไม่ทราบต าแหน่งชัดเจน แซมมวล บีล สันนิษฐานว่าคือ พะโค
              หรือรัฐมอญทางตอนใต้ของประเทศเมียนมา
                       6
                         คือ “อีศานปุระ” หรือ “เจนละ” ในประเทศกัมพูชา
                       7
                         คือ “มหาจามปา” หรือ “จัมปา” ในประเทศเวียดนาม
                       8
                         Samuel Beal, Siyuki: Buddhist records of the Western world,
              translated  from  the  Chinese  of  Hiuen  Tsiang  (A.D.629) (Delhi:  Oriental
              Books Reprint Corporation, 1969), 200 ; มานิต วัลลิโภดม, “ทวารวดีอยู่ที่ไหน
              ,” ศิลปากร 16, 2 (2515): 53–54.
                       9
                          หรืออ่านว่า “ตั้วหลัวปัวตี่” (Duo-luo-bo-di) ตามการถ่ายทอดเสียง
              ในปัจจุบัน
                       10
                          Beal,  Siyuki:  Buddhist  records  of  the  Western  world,
              translated from the Chinese of Hiuen Tsiang (A.D.629), 200.
                       11
                         Phasook Indrawooth, “Recent Research on Dvaravati Cultural
              Workshop Sites in Petchaburi Province, Central Thailand,” in  Interpreting

              Southeast Asia’s Past : monument, image and  text, eds. by Elizabeth A.



                                          28
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44