Page 102 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 102

จ�กต�ร�งที่ 2 พบว่� เด็กและเย�วชนส่วนใหญ่มีดัชนีมวลก�ยในระดับ

            ปกติ จำ�นวน 31 คิดเป็นร้อยละ 73.8 ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจำ�ตัว จำ�นวน 40 คน
            คิดเป็นร้อยละ 97.6 และส่วนใหญ่ไม่มีประวัติก�รเจ็บป่วยในอดีต/รับก�รผ่�ตัด
            จำ�นวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 73.8 ส่วนอีก 11 คน ที่มีประวัติก�รเจ็บป่วยในอดีต/
            ก�รผ่�ตัด ทั้งเคยประสบอุบัติเหตุจ�กรถจักรย�นยนต์ กระดูกแขนข�หัก หรือเคย
            ก�รผ่�ตัดอวัยวะบ�งส่วนของร่�งก�ย



            ตารางที่ 3 น�้าหนักตัว ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย อุณหภูมิร่างกาย ชีพจรของเด็ก
            และเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธร จ�าแนกตามค่าเฉลี่ย
            ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต�่าสุด ค่าสูงสุด
                                                                       N=42

                          ข้อมูล               ค่าเฉลี่ย (S.D.)  ค่าสูงสุด-ค่าต�่าสุด
             1. นำ้�หนัก (กิโลกรัม)            65.06 (9.19)   47.60 – 95.00

             2. ส่วนสูง (เซนติเมตร)            168.13 (5.21)   156 – 180
                                 2
             3. ดัชนีมวลก�ย (BMI: กก./ม )      23.06 (2.87)   17.48 – 30.67
             4. สัญญ�ณชีพ
                1) อุณหภูมิร่�งก�ย (องศ�เซลเซียส)  36.14 (0.39)  35.30-36.90
                2) ชีพจร (ครั้ง/น�ที)          69.10 (8.51)      50-88


                    จ�กต�ร�งที่ 3 พบว่� เด็กและเย�วชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
            เย�วชนสิรินธรมีนำ้�หนักตัว ส่วนสูง และดัชนีมวลก�ยอยู่ในเกณฑ์ปกติ และมี

            สัญญ�ณชีพทั้งอุณหภูมิก�ย และชีพจรปกติ โดยนำ้�หนักโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 65.06
            กิโลกรัม ส่วนสูงโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 168.13 เซนติเมตร ดัชนีมวลก�ยโดยเฉลี่ยอยู่ที่
                       2
            23.06 กก./ม  อุณหภูมิร่�งก�ยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 36.14 องศ�เซลเซียส และ ชีพจรโดย
            เฉลี่ยอยู่ที่ 69.10 ครั้ง/น�ที








                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   101
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107