Page 221 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 221
ร่างกายพื้นฐานตามแบบของ (ICSPFT) ดังนี้ งอตัวข้างหน้า ค่าสูงสุด 22 เซนติเมตร
ค่าต�่าสุด 0 เซนติเมตร ค่าเฉลี่ย 13.36เซนติเมตร ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.16
ยืนกระโดดไกล ค่าสูงสุด 200 เซนติเมตร ค่าต�่าสุด 95 เซนติเมตร ค่าเฉลี่ย 160.90
เซนติเมตร ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 25.14 ลุก-นั่ง 30 วินาที ค่าสูงสุด 31 ครั้งต่อวินาที
ค่าต�่าสุด 11 ครั้งต่อวินาที ค่าเฉลี่ย 21.50 ครั้งต่อวินาที ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.34
งอแขนห้อยตัว ค่าสูงสุด 181 วินาที ค่าต�่าสุด 1.25 วินาที ค่าเฉลี่ย 28.25 วินาที
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 44.54 วิ่งเก็บของ 10 เมตร ค่าสูงสุด 13.63 วินาที ค่าต�่าสุด
10.81 วินาที ค่าเฉลี่ย 11.92 วินาที ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.75 วิ่งเร็ว 50 เมตร
ค่าสูงสุด 10.31 วินาที ค่าต�่าสุด 7.93 วินาที ค่าเฉลี่ย 8.98 วินาที ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 0.65
การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการร่วม
กิจกรรมปฏิบัติการ ด้านสมรรถนะทางกายของเด็กและเยาวชน
พบว่า ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม Fit for health ด้านสมรรถนะทาง
กายของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯ บ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัย
ส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การวิเคราะห์ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน
และเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของ
ความเครียด/อารมณ์และการจัดการความเครียด/อารมณ์ของเด็กและเยาวชน
พบว่า ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมอารมณ์ดี ด้านความเครียดและ
ความแข็งแกร่งในชีวิตของเด็กและเยาวชนหญิงศูนย์ฝึกฯบ้านปรานี มีค่าเฉลี่ย
แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากการทดสอบสมมติฐาน
ด้วย t-test โดยก�าหนดระดับนัยส�าคัญที่ระดับ .05 พบว่าก่อนและหลังเข้าร่วม
กิจกรรม อารมณ์ดี ด้านความทนทานทางอารมณ์ของเด็กและเยาวชนหญิง
ศูนย์ฝึกฯบ้านปรานี มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน เนื่องจาก เด็กและเยาวชนไม่เข้าใจ
ในข้อค�าถาม
การวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตราฐาน ของลักษณะทั่วไปและประวัติสุขภาพเบื้องต้นของเด็กและเยาวชน
พบว่า เด็กและเยาวชนของศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิง
220 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research