Page 261 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 261
จากตารางที่ 3 สรุปว่า เยาวชนส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายปกติร้อยละ 61.54
มีน�้าหนักเกินระยะเริ่มต้นไปจนถึงอ้วนร้อยละ 16.92 ที่เหลือมีน�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์
เล็กน้อย แต่ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจ�าตัวร้อยละ 97.6 มีเพียงร้อยละ 2.4 ที่มีประวัติ
เป็นโรคภูมิแพ้ และเยาวชนจ�านวนหนึ่ง เคยมีอุบัติเหตุ กระดูกแขนขาหัก หรือเคย
การผ่าตัดอวัยวะบางส่วนของร่างกาย
2. พฤติกรรมบริโภคอาหาร
ตารางที่ 4 คะแนนรวม ค่าต�่าสุด-ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนและหลังการทดลองของพฤติกรรม
บริโภคอาหารในเด็กและเยาวชนศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนอุเบกขา
(N = 65 คน)
2.1 พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไป รายข้อก่อน และ
หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
ข้อ ประเด็น ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65) หลังกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65)
ค่าเฉลี่ย ค่า ค่า ล�าดับ ค่าเฉลี่ย ค่า ค่า ล�าดับ
เบี่ยงเบน ต�่าสุด- เบี่ยงเบน ต�่าสุด-
มาตรฐาน สูงสุด มาตรฐาน สูงสุด
1 อาหารปิ้งย่าง 2.66 1.035 1-5 12 3.7561 .6993 1-5 3
2 อาหารทอดทุก 3.23 .844 2-5 3 2.9024 0.83081 1-4 9
ชนิด
3 อาหารผัดๆ น�้ามัน 3.03 .918 1-5 6 2.878 0.89986 1-4 10
4 อาหารต้มไม่ใส่ 3.03 .865 1-5 7 missing missing missing
กะทิ
5 แกงกะทิทุกชนิด 2.89 .886 1-5 10 3.1463 0.90997 1-5 7
6 อาหารย�าๆ รสจัด 2.82 .967 1-5 11 missing missing missing
7 อาหารน�้าพริก 2.59 .921 1-5 14 missing missing missing
ผักจิ้ม
8 อาหารส�าเร็จรูป 3.62 1.071 1-5 1 2.9756 1.10652 1-5 8
เช่น มาม่า
ไส้กรอก อาหาร
แช่แข็ง
260 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research